- หน้าแรก
- บทสวดมนต์ ทุกวัน
- ทำวัตรเช้า
- ทำวัตรเย็น
- พระคาถาชินบัญชร 108 จบ
- พระคาถาชินบัญชร 9 จบ
- เสียงสวดชินบัญชรคาถา ใช้ถอนคุณไสย ไล่สิ่งชั่วร้ายทุกรูปแบบ
- รวมคาถาสะท้อนกลับ ให้คุณไสยที่ส่งมาย้อนกลับไปหาคนที่คิดร้ายเรา
- เสียงสวดชินบัญชรคาถา ใช้ถอนคุณไสย ไล่สิ่งชั่วร้ายทุกรูปแบบ
- พระคาถาชินบัญชร 108 จบ
- บทพาหุง 108 จบ พุทธชัยมงคลคาถา
- บทสวดพระปริตร | โดยพระมหาศรัณ สารธมฺโม
- นะโม เม พุทธะ เตชัสสาฯ | บทสวดจุลชัยยะมงคลคาถา
- สมาธิเซน
- Guy Zezars
- Positive Meditation
- Japanese Zen Music
- 528Hz
- ติดต่อสอบถาม
เอกัคคตารมณ์ แปลว่า เป็นหนึ่ง ตัวบุญใหญ่คือ การทรงสมาธิจิต
เอกัคคตารมณ์ แปลว่า เป็นหนึ่ง ตัวบุญใหญ่คือ การทรงสมาธิจิต
ข้อมูลจากเว็ป มหาสติปัฎฐานสี่ ตอนที่ ๒ที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลายเธอจงเป็นผู้มีสติ หายใจเข้า จงรู้ว่าเป็นผู้หายใจเข้า เมื่อหายใจออกก็จงรู้ว่าเป็นผู้หายใจออก" หมายความว่า การรู้ลมหายใจเข้า รู้ลมหายใจออกนี่เราไม่ต้องระวังกัน ไม่ต้องตั้งท่า ไม่ต้องหาเวลา เป็นเวลาใดก็ตาม เวลาที่กินข้าวอยู่ก็ดี หรือว่าทำการงานก็ดี เวลาพูดคุยกับเพื่อนฝูงก็ดี เดินไปก็ดี ยืนอยู่ก็ดี นอนอยู่ก็ดี ทุกอิริยาบทเราสามารถรู้ลมหายใจเข้าลมหายใจออกได้อย่างสบาย อย่างนี้เรียกว่าเข้าถึงอานาปานาสติ มหาสติปัฏฐานสูตรข้อนี้แล้ว
เรื่องของพระกรรมฐานกับนิมิตเป็นของธรรมดา นิมิตของอานาปานาสติกรรมฐานก็มี เช่น สีเขียว สีแดง สีสว่างคล้าย ๆ แสงไฟฉาย หรือเหมือนแสงฟ้าแลบ การที่จะได้บุญ อยู่ตรงที่จิตเป็นสมาธิ ตัวบุญอยู่ที่จิตเป็นสมาธิที่มีอารมณ์ตั้งมั่น ไม่ใช่อยู่ที่องค์ภาวนาอย่างเดียว การภาวนาด้วย ก็เพื่อจะใช้อารมณ์ยึด คือ สติ ให้รู้อยู่ว่าเรากำหนดลมหายใจเข้าออก หรือว่าเราภาวนาว่ายังไง แล้วก็ควบคุมอารมณ์อยู่เฉพาะอย่างนั้นอย่างเดียวให้เป็นเอกัคคตารมณ์ คำว่า เอกัคคตารมณ์ แปลว่า เป็นหนึ่ง ตัวบุญใหญ่คือ การทรงสมาธิจิต ถ้าสมาธิทรงได้สูงมากเพียงใด นิวรณ์ที่จะมากั้นความดีคืออารมณ์ของความชั่ว คำว่านิวรณ์ได้แก่ อารมณ์ของความชั่ว ถ้าขณะใดจิตทรงสมาธิที่เรียกกันว่าเป็นฌาน คำว่าฌานนี้ แปลว่า การเพ่ง การทรงอยู่ของจิต จิตเพ่งอยู่เฉพาะอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่ง อันนี้เราเรียกกันว่า ฌาน
เมื่อเรามีสติสามารถจะรู้ลมหายใจเข้าหายใจออก ที่กระทบเข้าและกระทบออกที่จมูกได้ เข้าก็รู้ออกก็รู้ จิตก็จะเริ่มเป็นสมาธิ สมาธิขั้นต้นเรียกว่า ขณิกสมาธิ แปลว่า สมาธิเล็กน้อย เมื่อขณิกสมาธิละเอียดขึ้น จิตก็จะเข้าสู่อุปจารสมาธิ ตอนนี้อารมณ์ของที่เป็นทิพย์จะปรากฎ จิตเป็นทิพย์ คือ จิตย่อมว่าจากกิเลส จิตว่างจากนิวรณ์ทั้ง ๕ เมื่อจิตว่างจากนิวรณ์ ๕ ประการแล้ว จิตก็สามารถจะเป็นทิพย์ แต่จะเป็นมากหรือเป็นน้อยขึ้นอยู่กับสมาธิจิต จะเห็นแสง เห็นภาพ แต่ภาพที่ปรากฎก็ดี แสงสีที่ปรากฎก็ดี จงอย่าเอาจิตเข้าไปเกาะ เพียงกำหนดว่า ถ้าหากว่าเราเห็นนานหรือเร็ว จงรู้ตัวว่า นี่จิตของเราเป็นทิพย์ เข้าสู่อุปจารสมาธิ
ที่มา : http://www.larnbuddhism.com/grammathan/sati2.html
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า พระราหู
พระราหู
เทวดาพระราหูทรงครุฑดำ -
"เทพเจ้าแห่งเดช อำนาจ บารมี เงินตรา เปลี่ยนแปลงดวงชะตาชีวิต จากร้ายกลายดี"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันพุธกลางคืน (เกิดวันพุธเวลา 18.00 น. - 05.59น.)
“ท่านที่ทำงานด้านวงการบันเทิง ต่างประเทศ ท่านที่ทำงานที่ยังมีความปรารถนา
ในลาภ ยศ เกียรติ สรรเสริญ ควรจะบูชาเทพพระราหูองค์นี้”
หลักเทวกำเนิด เทพพระราหู “เทพเจ้าแห่งความมัวเมา”
เกิดจากหัวผีโขมด 12 หัว ธาตุประจำตัว คือธาตุลม สีประจำตัวคือ สีตะกั่ว สีบรอนซ์ ปรัชญาทางโหราศาสตร์กล่าวไว้ว่า “มัวเมา ให้ทายราหู” ท่านที่มีเทพพระราหูรักษาตัวนั้น เป็นคนช่างสังเกต จับผิดเก่ง กล้าได้กล้าเสีย จริงจัง ใจร้อน ชอบความรวดเร็ว เหมาะจะทำงานที่เกี่ยวกับการตรวจสอบจับผิดได้ดี นักบัญชี นักกฎหมาย นักวิเคราะห์หุ้น ดารานักแสดง จะประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี
พุทธคุณเทวคุณในการบูชาเทพพระราหู ผู้ที่ได้บูชาเทพพระราหู จะเป็นผู้ที่ได้รับพลังจากเทพพระองค์นี้ ทำให้เป็นบุคคลที่มีลางสังหรณ์ ทำให้เป็นคนกล้าได้ กล้าเสียและทำงานด้วยความรวดเร็ว คล่องแคล่ว และเป็นที่ติดตราตรึงใจ เกิดความรักใคร่ ผู้ใหญ่ให้ความเมตตา และอำนวยซึ่งโชคลาภ เงินตรา มหาสมบัติทั้งหลาย เกียรติ์ ตำแหน่งต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ท่านที่ทำงานในด้านวงการบันเทิง ต่างประเทศ ท่านที่ทำงานที่ยังมีความปรารถนาในลาภ ยศ เกียรติ์ สรรเสริญ ควรจะบูชาเทพพระองค์นี้ด้วยคุณงามความดี การบูชา ขอให้ท่านตั้งจิตอธิษฐานทุกครั้งที่สร้างบุญ สร้างกุศล และอุทิศบุญกุศลนั้นถวายแด่องค์พระราหู ท่านจะอำนวยโชค อำนวยชัยให้เกิดเป็นผลสำเร็จหรือมีความเจริญรุ่งเรืองในชีวิต
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระราหูจะมัสมิง จะ พุทธคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระราหู สวด ๑๒ จบ
โอม ราหู จะมหาเทโว ครุฑพาโห สวาโหม
ให้ท่านตั้งจิตให้ดี ขอให้มีความร่ำรวยด้วยลาภ ยศ เกียรติ สรรเสริญ สุข ในชาติในภพนี้ ด้วยกำลังของแรงบุญที่ได้สร้างและสะสมมา ตลอดจนบารมีแห่งองค์เทพพระราหู ขอให้เกิดความสุข สวัสดี ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระราหู จะเป็นมหามงคล หรือในยามที่เดินทางไกล จงแคล้วคลาดปลอดภัยทุกประการ
ที่มา : http://www.sookjai.com/index.php?topic=34392.5;wap2
เทวดาพระราหูทรงครุฑดำ -
"เทพเจ้าแห่งเดช อำนาจ บารมี เงินตรา เปลี่ยนแปลงดวงชะตาชีวิต จากร้ายกลายดี"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันพุธกลางคืน (เกิดวันพุธเวลา 18.00 น. - 05.59น.)
“ท่านที่ทำงานด้านวงการบันเทิง ต่างประเทศ ท่านที่ทำงานที่ยังมีความปรารถนา
ในลาภ ยศ เกียรติ สรรเสริญ ควรจะบูชาเทพพระราหูองค์นี้”
หลักเทวกำเนิด เทพพระราหู “เทพเจ้าแห่งความมัวเมา”
เกิดจากหัวผีโขมด 12 หัว ธาตุประจำตัว คือธาตุลม สีประจำตัวคือ สีตะกั่ว สีบรอนซ์ ปรัชญาทางโหราศาสตร์กล่าวไว้ว่า “มัวเมา ให้ทายราหู” ท่านที่มีเทพพระราหูรักษาตัวนั้น เป็นคนช่างสังเกต จับผิดเก่ง กล้าได้กล้าเสีย จริงจัง ใจร้อน ชอบความรวดเร็ว เหมาะจะทำงานที่เกี่ยวกับการตรวจสอบจับผิดได้ดี นักบัญชี นักกฎหมาย นักวิเคราะห์หุ้น ดารานักแสดง จะประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี
พุทธคุณเทวคุณในการบูชาเทพพระราหู ผู้ที่ได้บูชาเทพพระราหู จะเป็นผู้ที่ได้รับพลังจากเทพพระองค์นี้ ทำให้เป็นบุคคลที่มีลางสังหรณ์ ทำให้เป็นคนกล้าได้ กล้าเสียและทำงานด้วยความรวดเร็ว คล่องแคล่ว และเป็นที่ติดตราตรึงใจ เกิดความรักใคร่ ผู้ใหญ่ให้ความเมตตา และอำนวยซึ่งโชคลาภ เงินตรา มหาสมบัติทั้งหลาย เกียรติ์ ตำแหน่งต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ท่านที่ทำงานในด้านวงการบันเทิง ต่างประเทศ ท่านที่ทำงานที่ยังมีความปรารถนาในลาภ ยศ เกียรติ์ สรรเสริญ ควรจะบูชาเทพพระองค์นี้ด้วยคุณงามความดี การบูชา ขอให้ท่านตั้งจิตอธิษฐานทุกครั้งที่สร้างบุญ สร้างกุศล และอุทิศบุญกุศลนั้นถวายแด่องค์พระราหู ท่านจะอำนวยโชค อำนวยชัยให้เกิดเป็นผลสำเร็จหรือมีความเจริญรุ่งเรืองในชีวิต
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระราหูจะมัสมิง จะ พุทธคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระราหู สวด ๑๒ จบ
โอม ราหู จะมหาเทโว ครุฑพาโห สวาโหม
ให้ท่านตั้งจิตให้ดี ขอให้มีความร่ำรวยด้วยลาภ ยศ เกียรติ สรรเสริญ สุข ในชาติในภพนี้ ด้วยกำลังของแรงบุญที่ได้สร้างและสะสมมา ตลอดจนบารมีแห่งองค์เทพพระราหู ขอให้เกิดความสุข สวัสดี ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระราหู จะเป็นมหามงคล หรือในยามที่เดินทางไกล จงแคล้วคลาดปลอดภัยทุกประการ
ที่มา : http://www.sookjai.com/index.php?topic=34392.5;wap2
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า พระเกตุ
พระเกตุ
เทวดาพระเกตุนาคราช -
"เทพเจ้าแห่งสมบัติในบาดาลพิภพ ความศักดิ์สิทธิ์ ลางสังหรณ์"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่ไม่ทราบวันเกิด หรือ ไม่ทราบลัคนาราศีเกิด
“บุคคลที่ได้บูชาเทพพระองค์นี้ จะทำให้มีทรัพย์ มีที่อยู่อาศัยที่มั่นคง
มีพาหนะ มีทรัพย์สิน แก้วแหวนเงินทอง ไม่ขาดตกบกพร่อง”
หลักเทวกำเนิด เทพพระเกตุ “เทพเจ้าแห่งความศักดิ์สิทธิ์และลางสังหรณ์”
เกิดจากพญานาค 9 องค์ ซึ่งพญานาคมีหัวหน้าใหญ่ คือ องค์วิรุฬปักโข ซึ่งเป็นเทวดาในชั้นมหาจตุราชิกาครอบครองทางทิศตะวันตก เป็นเจ้าแห่งแผ่นดิน แห่งทรัพย์ในดิน และเป็นมหาเทพ ที่แสดงถึงฤทธิ์และเดช ที่มีกำลังมาก เหลือเกิน
โบราณจะถือองค์เทพพระเกตุ เป็นองค์เทพที่สำคัญที่จะต้องบูชาก่อนบวงสรวงทุกครั้ง ทุกครา ถือว่าเป็นวิญญาณธาตุและสิ่งสำคัญ คือ เป็นมหาเทพที่จะคอยคุ้มครอง เป็นฉัตรแก้วกั้นเกศ เป็นมหาเทพที่สำคัญ
พุทธคุณเทวคุณในการบูชาเทพพระเกตุ
บุคคลที่ได้บูชาเทพพระองค์นี้ จะทำให้มีทรัพย์ มีที่อยู่ที่อาศัยที่มั่นคง มีพาหนะ คือ รถยนต์ มีทรัพย์สิน แก้วแหวนเงินทองไม่ขาดตกบกพร่อง ทำบุญทุกครั้งอุทิศบุญให้เทพพระ เกตุและพญานาคทั้ง 4 ตระกูล อันได้แก่ ตระกูลเอราบถ ตระกูลฉัพยะปุตตะ ตระกูลกัญหาโคตม และตระกูลวิรูฬปักษ์ ก่อนนอนให้สวดบทคาถาพาหุง จะมีชัยชนะต่อภยันตราย จะมีแต่ความสุข ความเจริญ ทำบุญคราใดอุทิศถวายแด่เทพพระเกตุและองค์พญานาคทั้ง 4 ตระกูลนี้ ชีวิตท่านจะไม่มีเคราะห์ จะมีแต่ความสุข ความเจริญทุกประการ
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระเกตุจะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระเกตุ สวด ๙ จบ
โอม เกตุ จะมหาเทโว นาคีนาคาพาโห สวาโหม
เมื่อท่านสวดมนต์ไหว้พระ ก่อนนอน สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระเกตุ โดยมีรูปองค์ท่าน ภาพของท่าน เหรียญหรือจะเป็นอะไรที่เกี่ยวข้องกับท่าน พระเกตุจะคุ้มครองรักษาท่านแม้ยามหลับให้หลับฝันดี มีความสุข ความเจริญและชีวิตจะผ่านพ้นโพยภัย ไม่จำเพาะแต่ท่านที่ไม่รู้วันเกิดเท่านั้น บูชาได้สำหรับทุกๆคน ทุกราศี
ที่มา : http://www.sookjai.com/index.php?topic=34392.5;wap2
เทวดาพระเกตุนาคราช -
"เทพเจ้าแห่งสมบัติในบาดาลพิภพ ความศักดิ์สิทธิ์ ลางสังหรณ์"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่ไม่ทราบวันเกิด หรือ ไม่ทราบลัคนาราศีเกิด
“บุคคลที่ได้บูชาเทพพระองค์นี้ จะทำให้มีทรัพย์ มีที่อยู่อาศัยที่มั่นคง
มีพาหนะ มีทรัพย์สิน แก้วแหวนเงินทอง ไม่ขาดตกบกพร่อง”
หลักเทวกำเนิด เทพพระเกตุ “เทพเจ้าแห่งความศักดิ์สิทธิ์และลางสังหรณ์”
เกิดจากพญานาค 9 องค์ ซึ่งพญานาคมีหัวหน้าใหญ่ คือ องค์วิรุฬปักโข ซึ่งเป็นเทวดาในชั้นมหาจตุราชิกาครอบครองทางทิศตะวันตก เป็นเจ้าแห่งแผ่นดิน แห่งทรัพย์ในดิน และเป็นมหาเทพ ที่แสดงถึงฤทธิ์และเดช ที่มีกำลังมาก เหลือเกิน
โบราณจะถือองค์เทพพระเกตุ เป็นองค์เทพที่สำคัญที่จะต้องบูชาก่อนบวงสรวงทุกครั้ง ทุกครา ถือว่าเป็นวิญญาณธาตุและสิ่งสำคัญ คือ เป็นมหาเทพที่จะคอยคุ้มครอง เป็นฉัตรแก้วกั้นเกศ เป็นมหาเทพที่สำคัญ
พุทธคุณเทวคุณในการบูชาเทพพระเกตุ
บุคคลที่ได้บูชาเทพพระองค์นี้ จะทำให้มีทรัพย์ มีที่อยู่ที่อาศัยที่มั่นคง มีพาหนะ คือ รถยนต์ มีทรัพย์สิน แก้วแหวนเงินทองไม่ขาดตกบกพร่อง ทำบุญทุกครั้งอุทิศบุญให้เทพพระ เกตุและพญานาคทั้ง 4 ตระกูล อันได้แก่ ตระกูลเอราบถ ตระกูลฉัพยะปุตตะ ตระกูลกัญหาโคตม และตระกูลวิรูฬปักษ์ ก่อนนอนให้สวดบทคาถาพาหุง จะมีชัยชนะต่อภยันตราย จะมีแต่ความสุข ความเจริญ ทำบุญคราใดอุทิศถวายแด่เทพพระเกตุและองค์พญานาคทั้ง 4 ตระกูลนี้ ชีวิตท่านจะไม่มีเคราะห์ จะมีแต่ความสุข ความเจริญทุกประการ
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระเกตุจะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระเกตุ สวด ๙ จบ
โอม เกตุ จะมหาเทโว นาคีนาคาพาโห สวาโหม
เมื่อท่านสวดมนต์ไหว้พระ ก่อนนอน สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระเกตุ โดยมีรูปองค์ท่าน ภาพของท่าน เหรียญหรือจะเป็นอะไรที่เกี่ยวข้องกับท่าน พระเกตุจะคุ้มครองรักษาท่านแม้ยามหลับให้หลับฝันดี มีความสุข ความเจริญและชีวิตจะผ่านพ้นโพยภัย ไม่จำเพาะแต่ท่านที่ไม่รู้วันเกิดเท่านั้น บูชาได้สำหรับทุกๆคน ทุกราศี
ที่มา : http://www.sookjai.com/index.php?topic=34392.5;wap2
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า พระเสาร์
พระเสาร์
เทวดาพระเสาร์ทรงพยัคฆ์ (เสือ) -
"เทพเจ้าแห่งการกสิกรรม ความอดทนอดกลั้น (ขันติ)"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันเสาร์
“เทพพระเสาร์ เป็นเทพที่มีพลังแห่งความอดทน อดกลั้น เป็นเทพที่มีพลังแห่งความรับผิดชอบ
ผู้ใดได้บูชาองค์เทพพระเสาร์ ท่านจะประทานพระบารมีให้มีเดชเดชะ ตบะ อำนาจ
และได้รับกำลังจากพระเสาร์ได้เช่นเดียวกัน”
หลักเทวกำเนิด เทพพระเสาร์ “เทพเจ้าแห่งโทษทุกข์”
เกิดจากเสือหรือพยัคฆ์ 10 ตัว ธาตุประจำตัวคือ ธาตุไฟ สีประจำตัวคือ สีม่วง สีดำ
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวว่า “โทษทุกข์ ให้ทายเสาร์” ท่านที่มีเทพพระเสาร์รักษาตัวนั้น ด้วยเหตุแห่งโทษทุกข์ ชีวิตจึงต้องเผชิญกับการต่อสู้ชีวิตมาตั้งแต่เกิด ต้องก่อร่างสร้างตัวด้วยตัวเอง ต้องมีความมุ่งมั่นและมีความตั้งใจ ชีวิตถึงจะผ่านวิบากแห่งชะตากรรมไปได้ และประสบความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ ลักษณะเป็นผู้ที่มีความคิด มีการวางแผน รักความสงบ มีความรับผิดชอบสูง ชอบของเก่าของโบราณ เหมาะที่จะทำงานที่ต้องใช้ความรับผิดชอบสูง นักวิจัย แพทย์ วิศวกร งานที่เกี่ยวกับการเกษตร อสังหาริมทรัพย์ จะประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี
พุทธบูชา เทวบูชาในการบูชาเทพพระเสาร์
เทพพระเสาร์ เป็นเทพที่มีพลังแห่งความอดทน อดกลั้น เป็นเทพที่พลังแห่งความรับผิดชอบ ผู้ใดได้บูชาองค์เทพพระเสาร์ จะสามารถประทานพระบารมีให้มีเดชเดชะ ตบะ อำนาจ และได้รับกำลังจากพระเสาร์ได้เช่นเดียวกันและมหาเทพองค์นี้ เป็นมหาเทพที่จะคุ้มครองรักษาท่านไปทั้งชีวิต แต่ต้องทำด้วยความวิริยะอุตสาหะ ชีวิตจะสามารถประสบความสำเร็จ มีความมั่นคง เมื่อท่านได้ทำบุญคราใด และอุทิศบุญกุศลถวายแด่องค์เทพพระเสาร์ ท่านก็จะตามคุ้มครองรักษาท่านไปตลอดกาล
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระเสาร์จะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระเสาร์ สวด ๑๐ จบ
โอม โสโรจะ มหาเทโว พยัคฆพาโห สวาโหม
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระเสาร์ ท่านจะมีแต่ความสุข ความเจริญ
ที่มา : http://www.sookjai.com/index.php?topic=34392.5;wap2
เทวดาพระเสาร์ทรงพยัคฆ์ (เสือ) -
"เทพเจ้าแห่งการกสิกรรม ความอดทนอดกลั้น (ขันติ)"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันเสาร์
“เทพพระเสาร์ เป็นเทพที่มีพลังแห่งความอดทน อดกลั้น เป็นเทพที่มีพลังแห่งความรับผิดชอบ
ผู้ใดได้บูชาองค์เทพพระเสาร์ ท่านจะประทานพระบารมีให้มีเดชเดชะ ตบะ อำนาจ
และได้รับกำลังจากพระเสาร์ได้เช่นเดียวกัน”
หลักเทวกำเนิด เทพพระเสาร์ “เทพเจ้าแห่งโทษทุกข์”
เกิดจากเสือหรือพยัคฆ์ 10 ตัว ธาตุประจำตัวคือ ธาตุไฟ สีประจำตัวคือ สีม่วง สีดำ
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวว่า “โทษทุกข์ ให้ทายเสาร์” ท่านที่มีเทพพระเสาร์รักษาตัวนั้น ด้วยเหตุแห่งโทษทุกข์ ชีวิตจึงต้องเผชิญกับการต่อสู้ชีวิตมาตั้งแต่เกิด ต้องก่อร่างสร้างตัวด้วยตัวเอง ต้องมีความมุ่งมั่นและมีความตั้งใจ ชีวิตถึงจะผ่านวิบากแห่งชะตากรรมไปได้ และประสบความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ ลักษณะเป็นผู้ที่มีความคิด มีการวางแผน รักความสงบ มีความรับผิดชอบสูง ชอบของเก่าของโบราณ เหมาะที่จะทำงานที่ต้องใช้ความรับผิดชอบสูง นักวิจัย แพทย์ วิศวกร งานที่เกี่ยวกับการเกษตร อสังหาริมทรัพย์ จะประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี
พุทธบูชา เทวบูชาในการบูชาเทพพระเสาร์
เทพพระเสาร์ เป็นเทพที่มีพลังแห่งความอดทน อดกลั้น เป็นเทพที่พลังแห่งความรับผิดชอบ ผู้ใดได้บูชาองค์เทพพระเสาร์ จะสามารถประทานพระบารมีให้มีเดชเดชะ ตบะ อำนาจ และได้รับกำลังจากพระเสาร์ได้เช่นเดียวกันและมหาเทพองค์นี้ เป็นมหาเทพที่จะคุ้มครองรักษาท่านไปทั้งชีวิต แต่ต้องทำด้วยความวิริยะอุตสาหะ ชีวิตจะสามารถประสบความสำเร็จ มีความมั่นคง เมื่อท่านได้ทำบุญคราใด และอุทิศบุญกุศลถวายแด่องค์เทพพระเสาร์ ท่านก็จะตามคุ้มครองรักษาท่านไปตลอดกาล
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระเสาร์จะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระเสาร์ สวด ๑๐ จบ
โอม โสโรจะ มหาเทโว พยัคฆพาโห สวาโหม
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระเสาร์ ท่านจะมีแต่ความสุข ความเจริญ
ที่มา : http://www.sookjai.com/index.php?topic=34392.5;wap2
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า พระศุกร์
พระศุกร์
เทวดาพระศุกร์ทรงโค - "เทพเจ้าแห่งความรัก ความสวยงาม ความอุดมสมบูรณ์เรื่องอาหาร และเป็นเทพเจ้าแห่งการดนตรี ศิลปะการแสดงทุกแขนง"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันศุกร์
“ผู้ที่ปรารถนาจะมีความสุข ความเจริญในเรื่องทรัพย์ และสมบัติต่าง ๆ ควรจะบูชาเทพพระศุกร์”
หลักเทวกำเนิด เทพพระศุกร์ “เทพเจ้าแห่งความรัก และดนตรี”
เกิดจากพิทยาธร หรือโค 21 ตัว ธาตุประจำตัว คือธาตุน้ำ สีประจำตัวคือ สีฟ้าหรือน้ำเงิน
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวว่า “กิเลส สมบัติ หรือโภคสมบัติให้ทายศุกร์” ท่านที่มีเทพพระศุกร์รักษาตัว จึงมี บุคลิกลักษณะ ชอบความบันเทิง เริงรมย์ สนุกสนาน เจ้าสำราญ เจ้าเสน่ห์ ชอบสังคม รอบรู้ในวิชาการดนตรี เป็นผู้ที่มีศาสตร์ ศิลป์ในการบริหารชีวิต มีความสามารถในเรื่องอาหารการกินและรู้ที่กินที่รับประทานว่าที่อร่อยอยู่ที่ไหน ชีวิตปรารถนาความสุขอยู่ตลอดเวลา
พุทธบูชา เทวบูชาในการบูชาเทพพระศุกร์
คำว่า “โภคสมบัติ” แปลว่า ทรัพย์สิน เงินทอง ความสุข ความเจริญ เรื่องของกิน ของใช้ ของสวยงาม ผู้ปรารถนาจะมีความสุข ความเจริญ ในเรื่องทรัพย์และสมบัติต่างๆนั้น ควรจะบูชาเทพพระศุกร์ โดยมีรูปภาพ เหรียญเทวดาเทพพระศุกร์ ตลอดจนรูปเคารพบูชา ตั้งจิตอธิษฐาน อุทิศบุญกุศลให้เทพพระศุกร์ทุกครั้งที่ได้ทำบุญ สร้างกุศล
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระศุกร์จะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระศุกร์ สวด ๒๑ จบ
โอม ศุโกร จะมหาเทโว ละโภเทโว สวาโหม
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระศุกร์ ท่านจะคุ้มครองรักษา อำนวยโชค อำนวยชัยให้มีความสุข ทุกทิวาราตรีกาลและผู้ที่มีทรัพย์และมีความสุขตลอดกาล
เทวดาพระศุกร์ทรงโค - "เทพเจ้าแห่งความรัก ความสวยงาม ความอุดมสมบูรณ์เรื่องอาหาร และเป็นเทพเจ้าแห่งการดนตรี ศิลปะการแสดงทุกแขนง"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันศุกร์
“ผู้ที่ปรารถนาจะมีความสุข ความเจริญในเรื่องทรัพย์ และสมบัติต่าง ๆ ควรจะบูชาเทพพระศุกร์”
หลักเทวกำเนิด เทพพระศุกร์ “เทพเจ้าแห่งความรัก และดนตรี”
เกิดจากพิทยาธร หรือโค 21 ตัว ธาตุประจำตัว คือธาตุน้ำ สีประจำตัวคือ สีฟ้าหรือน้ำเงิน
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวว่า “กิเลส สมบัติ หรือโภคสมบัติให้ทายศุกร์” ท่านที่มีเทพพระศุกร์รักษาตัว จึงมี บุคลิกลักษณะ ชอบความบันเทิง เริงรมย์ สนุกสนาน เจ้าสำราญ เจ้าเสน่ห์ ชอบสังคม รอบรู้ในวิชาการดนตรี เป็นผู้ที่มีศาสตร์ ศิลป์ในการบริหารชีวิต มีความสามารถในเรื่องอาหารการกินและรู้ที่กินที่รับประทานว่าที่อร่อยอยู่ที่ไหน ชีวิตปรารถนาความสุขอยู่ตลอดเวลา
พุทธบูชา เทวบูชาในการบูชาเทพพระศุกร์
คำว่า “โภคสมบัติ” แปลว่า ทรัพย์สิน เงินทอง ความสุข ความเจริญ เรื่องของกิน ของใช้ ของสวยงาม ผู้ปรารถนาจะมีความสุข ความเจริญ ในเรื่องทรัพย์และสมบัติต่างๆนั้น ควรจะบูชาเทพพระศุกร์ โดยมีรูปภาพ เหรียญเทวดาเทพพระศุกร์ ตลอดจนรูปเคารพบูชา ตั้งจิตอธิษฐาน อุทิศบุญกุศลให้เทพพระศุกร์ทุกครั้งที่ได้ทำบุญ สร้างกุศล
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระศุกร์จะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระศุกร์ สวด ๒๑ จบ
โอม ศุโกร จะมหาเทโว ละโภเทโว สวาโหม
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระศุกร์ ท่านจะคุ้มครองรักษา อำนวยโชค อำนวยชัยให้มีความสุข ทุกทิวาราตรีกาลและผู้ที่มีทรัพย์และมีความสุขตลอดกาล
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า พระพฤหัสบดี
พระพฤหัสบดี
เทวดาพระพฤหัสบดีทรงกวางทอง - "เทพเจ้าแห่งความสำเร็จอันยิ่งใหญ่"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันพฤหัสบดี
“ผู้ใดได้บูชาเทพพระพฤหัสบดี จะเป็นผู้ที่มีปัญญาเป็นเลิศ จะเป็นผู้ที่มีทรัพย์ มียศถาบรรดาศักดิ์ มีความเจริญรุ่งเรือง ยามใดรู้สึกท้อ สมองตื้อ คิดอะไรไม่ออก ให้ระลึกนึกถึงเทพพระพฤหัสบดี ท่านจะพบทางออก”
หลักเทวกำเนิด เทพพระพฤหัสบดี “เทพเจ้าแห่งความยุติธรรม และปัญญา”
เกิดจากองค์มหาฤาษี 19 ตน มีธาตุประจำตัวคือ ธาตุดิน สีประจำตัวคือ สีส้ม
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวว่า “ปัญญาบริสุทธิ์ ให้ทายพฤหัสบดี” ท่านที่มีเทพพระพฤหัสบดีรักษาตัว จึงเป็นผู้ที่รักความยุติธรรม ความถูกต้อง มีปัญญา มีความรอบรู้ มีความเป็นครูอยู่ในตัวเอง จู้จี้ เจ้าระเบียบ เป็นผู้ที่สนใจใฝ่หาความรู้อยู่ตลอดเวลา มีความสุขุมคัมภีรภาพ รอบคอบ เหมาะที่จะทำงานเป็นครูบาอาจารย์ นักปราชญ์ นักกฎหมาย ข้าราชการฝ่ายการปกครอง หรือทำงานที่เกี่ยวกับต่างประเทศ แพทย์ ทนายความ จะประสบความสำเร็จในชีวิตเป็นอย่างดี
พุทธคุณ เทวคุณในการบูชาเทพพระพฤหัสบดี
เทพพระพฤหัสบดี อาจหมายถึงองค์พระสยามเทวาธิราช ท่านจะอำนวยโชคลาภ ความสุข ความเจริญ ให้เกิดขึ้นแก่สรรพสิ่งบนโลกใบนี้ โดยเฉพาะมนุษย์และสรรพสิ่งทั้งหลาย ผู้ที่ได้บูชาเทพพระพฤหัสบดี จะเป็นผู้ที่มีปัญญาเป็นเลิศ ประเสริฐกว่าคนทั้งหลาย จะเป็นผู้มีทรัพย์ มียศฐาบรรดาศักดิ์ มีความเจริญรุ่งเรือง ยามใดรู้สึกท้อสมองตื้อ คิดอะไรไม่ออก ให้ระลึกนึกถึงท่าน การบูชามหาเทพองค์นี้ สามารถบูชาด้วยการสร้างคุณงามความดี การปฏิบัติธรรม แผ่เมตตา หรือการทำในเรื่องราวที่ถูกต้อง จะมีมหาเทพพระองค์นี้เฝ้ารอ และคอยบันดาลดลให้เกิดสรรพสิ่งมิ่งมงคลแก่ชีวิตของผู้ที่ได้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ อยู่ในกรอบศีล กรอบธรรมอย่างแน่นอน ทุกครั้งที่ทำบุญ อย่าลืมอุทิศบุญกุศลให้เทพพระพฤหัสบดี ท่านจะอำนวยโชคอำนวยชัยให้ท่านสมหวังทุกประการ
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระพฤหัสบดีจะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระพฤหัสบดี สวด ๑๙ จบ
โอม ชีวะจะมหานิละ มหาเทโว สวาโหม
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระพฤหัสบดี ท่านจะมีปัญญาเป็นเลิศ มีทรัพย์ มียศฐาบรรดาศักดิ์ตลอดกาล
เทวดาพระพฤหัสบดีทรงกวางทอง - "เทพเจ้าแห่งความสำเร็จอันยิ่งใหญ่"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันพฤหัสบดี
“ผู้ใดได้บูชาเทพพระพฤหัสบดี จะเป็นผู้ที่มีปัญญาเป็นเลิศ จะเป็นผู้ที่มีทรัพย์ มียศถาบรรดาศักดิ์ มีความเจริญรุ่งเรือง ยามใดรู้สึกท้อ สมองตื้อ คิดอะไรไม่ออก ให้ระลึกนึกถึงเทพพระพฤหัสบดี ท่านจะพบทางออก”
หลักเทวกำเนิด เทพพระพฤหัสบดี “เทพเจ้าแห่งความยุติธรรม และปัญญา”
เกิดจากองค์มหาฤาษี 19 ตน มีธาตุประจำตัวคือ ธาตุดิน สีประจำตัวคือ สีส้ม
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวว่า “ปัญญาบริสุทธิ์ ให้ทายพฤหัสบดี” ท่านที่มีเทพพระพฤหัสบดีรักษาตัว จึงเป็นผู้ที่รักความยุติธรรม ความถูกต้อง มีปัญญา มีความรอบรู้ มีความเป็นครูอยู่ในตัวเอง จู้จี้ เจ้าระเบียบ เป็นผู้ที่สนใจใฝ่หาความรู้อยู่ตลอดเวลา มีความสุขุมคัมภีรภาพ รอบคอบ เหมาะที่จะทำงานเป็นครูบาอาจารย์ นักปราชญ์ นักกฎหมาย ข้าราชการฝ่ายการปกครอง หรือทำงานที่เกี่ยวกับต่างประเทศ แพทย์ ทนายความ จะประสบความสำเร็จในชีวิตเป็นอย่างดี
พุทธคุณ เทวคุณในการบูชาเทพพระพฤหัสบดี
เทพพระพฤหัสบดี อาจหมายถึงองค์พระสยามเทวาธิราช ท่านจะอำนวยโชคลาภ ความสุข ความเจริญ ให้เกิดขึ้นแก่สรรพสิ่งบนโลกใบนี้ โดยเฉพาะมนุษย์และสรรพสิ่งทั้งหลาย ผู้ที่ได้บูชาเทพพระพฤหัสบดี จะเป็นผู้ที่มีปัญญาเป็นเลิศ ประเสริฐกว่าคนทั้งหลาย จะเป็นผู้มีทรัพย์ มียศฐาบรรดาศักดิ์ มีความเจริญรุ่งเรือง ยามใดรู้สึกท้อสมองตื้อ คิดอะไรไม่ออก ให้ระลึกนึกถึงท่าน การบูชามหาเทพองค์นี้ สามารถบูชาด้วยการสร้างคุณงามความดี การปฏิบัติธรรม แผ่เมตตา หรือการทำในเรื่องราวที่ถูกต้อง จะมีมหาเทพพระองค์นี้เฝ้ารอ และคอยบันดาลดลให้เกิดสรรพสิ่งมิ่งมงคลแก่ชีวิตของผู้ที่ได้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ อยู่ในกรอบศีล กรอบธรรมอย่างแน่นอน ทุกครั้งที่ทำบุญ อย่าลืมอุทิศบุญกุศลให้เทพพระพฤหัสบดี ท่านจะอำนวยโชคอำนวยชัยให้ท่านสมหวังทุกประการ
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระพฤหัสบดีจะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระพฤหัสบดี สวด ๑๙ จบ
โอม ชีวะจะมหานิละ มหาเทโว สวาโหม
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระพฤหัสบดี ท่านจะมีปัญญาเป็นเลิศ มีทรัพย์ มียศฐาบรรดาศักดิ์ตลอดกาล
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า พระพุธ
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า พระพุธ
เทวดาพระพุธทรงช้าง -
"เทพเจ้าแห่งปฏิภาณ ไหวพริบ และปัญญา"
เทพประจำวันพุธกลางวัน (เกิดวันพุธตั้งแต่เวลา 06.00 น. - 17.59 น.)
“ บุคคลใดได้บูชาเทพพระพุธ จะเป็นผู้มีปัญญา มีปฏิภาณไหวพริบ
ในการคิด พูด อ่าน เขียน และแก้ปัญหา ”
หลักเทวกำเนิด เทพพระพุธ “เทพเจ้าแห่งการสื่อสาร วาจาและการพาณิชย์”
เกิดจากพญาช้างสาร 17 เชือก ธาตุประจำตัว คือ ธาตุน้ำ สีประจำตัว คือ สีเขียว
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวไว้ว่า “เจรจาอ่อนหวาน ให้ทายพุธ” ท่านที่มีเทพพระพุธรักษาตัว จึงเป็นผู้ที่มีปัญญา ปฏิภาณไหวพริบ ฉลาด มีความสามารถในการคิด พูด อ่าน เขียน ตรงตามหลักนักปราชญ์ ที่เรียกว่า สุ จิ ปุ ลิ ช่างพูด ช่างเจรจา มีความสามารถในการปฏิบัติ ปรับตัวได้ทุกสถานการณ์ จึงเหมาะที่จะทำงานด้านการติดต่อสื่อสาร การเจรจา การทูต นักพูด นักประชาสัมพันธ์ นักเขียน นักประพันธ์ จะประสบความความสำเร็จได้เป็นอย่างดี
พุทธคุณ เทวคุณในการบูชาเทพพระพุธ
ยุคสมัยปัจจุบัน เป็นยุคสมัยแห่งปัญญา การสื่อสาร และการประชาสัมพันธ์ ถ้าอยากประสบความสำเร็จ ให้เป็นผู้มีปัญญา ปฏิภาณ ไหวพริบ ในการคิด พูด อ่าน เขียน ปัญหาและอุปสรรต่าง ๆ ที่คิดไม่ออก ประสานงานติดขัด ต้องบูชาเทพพระพุธองค์นี้ ทุกอย่างจะราบรื่นไปได้ด้วยดี การสร้างบารมี พิมพ์หนังสือธรรมะเป็นทาน ให้ธรรมะแก่บุคคลอื่นทั่วไป และอุทิศบุญกุศลที่ได้สร้างคุณงาม ความดี ความกตัญญู การได้ศึกษาความรู้จากอาจารย์และแปรเปลี่ยนเป็นการถ่ายทอดพลังแห่งความรู้นั้นให้บุคคลอื่น อุทิศบุญกุศลต่างๆ เหล่านี้ ให้เทพพระพุธ ท่านจะได้รับการคุ้มครองจากเทพพระพุธ ทำให้คำพูดนำมาซึ่งทรัพย์ อริยทรัพย์ เป็นที่รักแก่มนุษย์และเทวดาทั้งหลาย มีความสุข ความเจริญรุ่งเรือง
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระพุธจะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระพุธ สวด ๑๗ จบ
โอม พุธะ จะมหาเทโว คชพาโห สวาโหม
ให้พยายามสวดมนต์ไหว้พระ ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระพุธ โดยมีรูปองค์ท่าน ภาพของท่าน เหรียญหรือจะเป็นอะไรที่เกี่ยวข้องกับท่าน จะเป็นพลังเสริมให้ชีวิตของคุณมีความสุข ความเจริญอย่างแน่นอน
ที่มา : http://www.sookjai.com/index.php?topic=34392.5;wap2
"เทพเจ้าแห่งปฏิภาณ ไหวพริบ และปัญญา"
เทพประจำวันพุธกลางวัน (เกิดวันพุธตั้งแต่เวลา 06.00 น. - 17.59 น.)
“ บุคคลใดได้บูชาเทพพระพุธ จะเป็นผู้มีปัญญา มีปฏิภาณไหวพริบ
ในการคิด พูด อ่าน เขียน และแก้ปัญหา ”
หลักเทวกำเนิด เทพพระพุธ “เทพเจ้าแห่งการสื่อสาร วาจาและการพาณิชย์”
เกิดจากพญาช้างสาร 17 เชือก ธาตุประจำตัว คือ ธาตุน้ำ สีประจำตัว คือ สีเขียว
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวไว้ว่า “เจรจาอ่อนหวาน ให้ทายพุธ” ท่านที่มีเทพพระพุธรักษาตัว จึงเป็นผู้ที่มีปัญญา ปฏิภาณไหวพริบ ฉลาด มีความสามารถในการคิด พูด อ่าน เขียน ตรงตามหลักนักปราชญ์ ที่เรียกว่า สุ จิ ปุ ลิ ช่างพูด ช่างเจรจา มีความสามารถในการปฏิบัติ ปรับตัวได้ทุกสถานการณ์ จึงเหมาะที่จะทำงานด้านการติดต่อสื่อสาร การเจรจา การทูต นักพูด นักประชาสัมพันธ์ นักเขียน นักประพันธ์ จะประสบความความสำเร็จได้เป็นอย่างดี
พุทธคุณ เทวคุณในการบูชาเทพพระพุธ
ยุคสมัยปัจจุบัน เป็นยุคสมัยแห่งปัญญา การสื่อสาร และการประชาสัมพันธ์ ถ้าอยากประสบความสำเร็จ ให้เป็นผู้มีปัญญา ปฏิภาณ ไหวพริบ ในการคิด พูด อ่าน เขียน ปัญหาและอุปสรรต่าง ๆ ที่คิดไม่ออก ประสานงานติดขัด ต้องบูชาเทพพระพุธองค์นี้ ทุกอย่างจะราบรื่นไปได้ด้วยดี การสร้างบารมี พิมพ์หนังสือธรรมะเป็นทาน ให้ธรรมะแก่บุคคลอื่นทั่วไป และอุทิศบุญกุศลที่ได้สร้างคุณงาม ความดี ความกตัญญู การได้ศึกษาความรู้จากอาจารย์และแปรเปลี่ยนเป็นการถ่ายทอดพลังแห่งความรู้นั้นให้บุคคลอื่น อุทิศบุญกุศลต่างๆ เหล่านี้ ให้เทพพระพุธ ท่านจะได้รับการคุ้มครองจากเทพพระพุธ ทำให้คำพูดนำมาซึ่งทรัพย์ อริยทรัพย์ เป็นที่รักแก่มนุษย์และเทวดาทั้งหลาย มีความสุข ความเจริญรุ่งเรือง
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระพุธจะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระพุธ สวด ๑๗ จบ
โอม พุธะ จะมหาเทโว คชพาโห สวาโหม
ให้พยายามสวดมนต์ไหว้พระ ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระพุธ โดยมีรูปองค์ท่าน ภาพของท่าน เหรียญหรือจะเป็นอะไรที่เกี่ยวข้องกับท่าน จะเป็นพลังเสริมให้ชีวิตของคุณมีความสุข ความเจริญอย่างแน่นอน
ที่มา : http://www.sookjai.com/index.php?topic=34392.5;wap2
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า พระอังคาร
พระอังคาร
เทวดาพระอังคารทรงกระบือ -
"เทพเจ้าแห่งการต่อสู้ การบุกเบิก พลังจิตพลังกายที่สมบูรณ์"
เทพประจำวันอังคาร
“ บุคคลใดได้บูชาเทพพระอังคาร จะมีความเด็ดขาด กล้าที่จะตัดสินใจ กล้าที่จะเผชิญกับปัญหา หากไม่ย่อท้อ เทพพระอังคารจะประทานพรให้ทุกอย่างผ่านพ้นและสำเร็จไปได้ด้วยดี ”
หลักเทวกำเนิด เทพพระอังคาร “เทพเจ้าแห่งการสงคราม และการบุกเบิก”
เกิดจากกระบือ 8 ตัว ธาตุประจำตัวคือ ธาตุลม สีประจำตัวคือ สีชมพู
ปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวไว้ว่า “กล้า แข็ง ขยัน ให้ทายอังคาร” ท่านที่มีเทพพระอังคารรักษาตัว จึงเป็นผู้ที่มีความกล้าคิด กล้าตัดสินใจ มีความแข็งแกร่งทั้งด้านร่ายกายและหัวใจ เป็นผู้ที่มีวิรยะอุตสาหะ มีความขยัน เข้มแข็ง อดทน อดกลั้น มีพื้นฐานของความเป็นนักสู้ นักรบ ชอบการผจญภัย จึงเหมาะที่จะทำงานทหารตำรวจ วิศวกร นายแพทย์ รวมถึงงานหรือธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ จะมีความสำเร็จ
พุทธคุณ เทวคุณในการบูชาเทพพระอังคาร
ยามที่ท่านจะต้องเริ่มต้นชีวิตใหม่ ต้องการทำในสิ่งใด ต้องการความกล้า ต้องการความเด็ดขาด ควรอธิษฐานจิต ระลึกถึงหรือบูชาเทพพระอังคาร ท่านจะมาคุ้มครองรักษา และทำให้ท่านประสบความสำเร็จเป็น อย่างดี หากสิ่งนั้น เรื่องนั้น ถูกต้องตามกรอบศีล กรอบธรรม ไม่ผิดหลักข้อกฎหมาย ทุกอย่างจะผ่านพ้น และสำเร็จไปได้ด้วยดี ทุกครั้งทำบุญกุศลคราใด อุทิศบุญถวายเทพพระอังคาร ท่านจะเป็นมิตร อำนวยโชค อำนวยชัยให้ผู้นั้นตลอดไป
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระอังคารจะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระอังคาร สวด ๘ จบ
โอม ภุมมะจะมหาเทโว มหิงสะพาโห สวาหะ
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระอังคาร ระลึกนึกถึงให้เป็นเทพคุ้มครองตัว ท่านจะได้กำลังแห่งความกล้าและขยัน มาอยู่ในกายตนตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นไป
ที่มา : http://www.thefuntong.com/content/view/94-1241.html
เทวดาพระอังคารทรงกระบือ -
"เทพเจ้าแห่งการต่อสู้ การบุกเบิก พลังจิตพลังกายที่สมบูรณ์"
เทพประจำวันอังคาร
“ บุคคลใดได้บูชาเทพพระอังคาร จะมีความเด็ดขาด กล้าที่จะตัดสินใจ กล้าที่จะเผชิญกับปัญหา หากไม่ย่อท้อ เทพพระอังคารจะประทานพรให้ทุกอย่างผ่านพ้นและสำเร็จไปได้ด้วยดี ”
หลักเทวกำเนิด เทพพระอังคาร “เทพเจ้าแห่งการสงคราม และการบุกเบิก”
เกิดจากกระบือ 8 ตัว ธาตุประจำตัวคือ ธาตุลม สีประจำตัวคือ สีชมพู
ปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวไว้ว่า “กล้า แข็ง ขยัน ให้ทายอังคาร” ท่านที่มีเทพพระอังคารรักษาตัว จึงเป็นผู้ที่มีความกล้าคิด กล้าตัดสินใจ มีความแข็งแกร่งทั้งด้านร่ายกายและหัวใจ เป็นผู้ที่มีวิรยะอุตสาหะ มีความขยัน เข้มแข็ง อดทน อดกลั้น มีพื้นฐานของความเป็นนักสู้ นักรบ ชอบการผจญภัย จึงเหมาะที่จะทำงานทหารตำรวจ วิศวกร นายแพทย์ รวมถึงงานหรือธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ จะมีความสำเร็จ
พุทธคุณ เทวคุณในการบูชาเทพพระอังคาร
ยามที่ท่านจะต้องเริ่มต้นชีวิตใหม่ ต้องการทำในสิ่งใด ต้องการความกล้า ต้องการความเด็ดขาด ควรอธิษฐานจิต ระลึกถึงหรือบูชาเทพพระอังคาร ท่านจะมาคุ้มครองรักษา และทำให้ท่านประสบความสำเร็จเป็น อย่างดี หากสิ่งนั้น เรื่องนั้น ถูกต้องตามกรอบศีล กรอบธรรม ไม่ผิดหลักข้อกฎหมาย ทุกอย่างจะผ่านพ้น และสำเร็จไปได้ด้วยดี ทุกครั้งทำบุญกุศลคราใด อุทิศบุญถวายเทพพระอังคาร ท่านจะเป็นมิตร อำนวยโชค อำนวยชัยให้ผู้นั้นตลอดไป
พระคาถาบูชา
“อิติปิโส ภะคะวา พระอังคารจะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม”
คาถาหัวใจพระอังคาร สวด ๘ จบ
โอม ภุมมะจะมหาเทโว มหิงสะพาโห สวาหะ
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระอังคาร ระลึกนึกถึงให้เป็นเทพคุ้มครองตัว ท่านจะได้กำลังแห่งความกล้าและขยัน มาอยู่ในกายตนตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นไป
ที่มา : http://www.thefuntong.com/content/view/94-1241.html
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า พระจันทร์
พระจันทร์
เทวดาพระจันทร์ทรงม้า -
"เทพเจ้าแห่งเสน่ห์ เมตตามหานิยม โชคลาภ เงินตรา"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันจันทร์
“ บุคคลใดได้บูชาเทพพระจันทร์ จะทำให้เป็นผู้มีเสน่ห์ ผู้ใหญ่ให้ความเมตตา
การประสานงานติดต่อมีแต่ความราบรื่น ผู้ที่มีการค้าขายก็มีลูกค้าไหลมาเทมา ”
หลักเทวกำเนิดแล้ว เทพพระจันทร์เป็น “เทพเจ้าแห่งความงดงาม และเงินตรา” เกิดจากนางฟ้า 15 องค์ ธาตุประจำราศีคือ ธาตุดิน สีประจำราศี คือ สีขาวนวล
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวไว้ว่า “รูปจริต ให้ทายจันทร์” ท่านที่มีเทพพระจันทร์รักษาตัว จึงมีลักษณะเป็นคนที่รักความสวยงาม มีจินตนาการอันกว้างไกล มีความนุ่มนวล สุภาพ อ่อนโยน อ่อนหวาน อ่อนไหว มีความเมตตาปราณี จึงเหมาะที่จะทำงานที่เกี่ยวกับมวลชน การติดต่อประสานงาน หรือค้าขายทำธุรกิจส่วนตัว จะประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี สังเกตได้ว่า ดารานักแสดง ส่วนมากจะเกิดวันจันทร์
พุทธคุณ เทวคุณในการบูชาเทพพระจันทร์
พระจันทร์นั้น เป็นดาวที่ให้พลังงานในการดึงดูดน้ำ ดึงดูดโชคลาภ เงินตรา ดังคำที่ว่า “จันทร์เอ๋ยจันทร์เจ้า ขอข้าวขอแกง ขอแหวนทองแดง มาใส่มือน้องข้า..............” เทพพระจันทร์ จึงมีผลต่อโชคลาภ และอารมณ์ ความรู้สึกของปวงมหาชนที่อยู่บนโลก รวมถึงผู้ที่ได้บูชาเทพพระจันทร์ ตลอดจนระลึกนึกถึงท่าน ท่านจะเป็นผู้มีเสน่ห์ การประสานงานติดต่อมีแต่ความราบรื่น ผู้ใหญ่ให้ความเมตตา ผู้ที่ค้าขายก็มีลูกค้าไหลมาเทมา ทำบุญกุศลคราใด อุทิศให้ท่าน และกตัญญูต่อบิดามารดา ท่านจะเป็นผู้ที่ได้รับความคุ้มครองจากเทพพระจันทร์ไปตลอดกาล ให้มีความสุข ความเจริญและประสบความสำเร็จ มีซึ่งของกิน ของใช้เครื่องอำนวยประโยชน์ไปตลอดชีวิต
พระคาถาบูชา
“ อิติปิโส ภะคะวา พระจันทร์จะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม ”
คาถาหัวใจพระจันทร์ สวด ๑๕ จบ
โอมสะสิจะมหาเทโว วิรัตตะ สักติทิรังทินนัง สวาหะ
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระจันทร์ ท่านจะได้รับการคุ้มครองรักษาจากเทพพระจันทร์ไปตลอดกาล ทำให้มีกินมีใช้ ไม่ขัดสนเลยตลอดชีวิตของท่าน
เทวดาพระจันทร์ทรงม้า -
"เทพเจ้าแห่งเสน่ห์ เมตตามหานิยม โชคลาภ เงินตรา"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันจันทร์
“ บุคคลใดได้บูชาเทพพระจันทร์ จะทำให้เป็นผู้มีเสน่ห์ ผู้ใหญ่ให้ความเมตตา
การประสานงานติดต่อมีแต่ความราบรื่น ผู้ที่มีการค้าขายก็มีลูกค้าไหลมาเทมา ”
หลักเทวกำเนิดแล้ว เทพพระจันทร์เป็น “เทพเจ้าแห่งความงดงาม และเงินตรา” เกิดจากนางฟ้า 15 องค์ ธาตุประจำราศีคือ ธาตุดิน สีประจำราศี คือ สีขาวนวล
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวไว้ว่า “รูปจริต ให้ทายจันทร์” ท่านที่มีเทพพระจันทร์รักษาตัว จึงมีลักษณะเป็นคนที่รักความสวยงาม มีจินตนาการอันกว้างไกล มีความนุ่มนวล สุภาพ อ่อนโยน อ่อนหวาน อ่อนไหว มีความเมตตาปราณี จึงเหมาะที่จะทำงานที่เกี่ยวกับมวลชน การติดต่อประสานงาน หรือค้าขายทำธุรกิจส่วนตัว จะประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี สังเกตได้ว่า ดารานักแสดง ส่วนมากจะเกิดวันจันทร์
พุทธคุณ เทวคุณในการบูชาเทพพระจันทร์
พระจันทร์นั้น เป็นดาวที่ให้พลังงานในการดึงดูดน้ำ ดึงดูดโชคลาภ เงินตรา ดังคำที่ว่า “จันทร์เอ๋ยจันทร์เจ้า ขอข้าวขอแกง ขอแหวนทองแดง มาใส่มือน้องข้า..............” เทพพระจันทร์ จึงมีผลต่อโชคลาภ และอารมณ์ ความรู้สึกของปวงมหาชนที่อยู่บนโลก รวมถึงผู้ที่ได้บูชาเทพพระจันทร์ ตลอดจนระลึกนึกถึงท่าน ท่านจะเป็นผู้มีเสน่ห์ การประสานงานติดต่อมีแต่ความราบรื่น ผู้ใหญ่ให้ความเมตตา ผู้ที่ค้าขายก็มีลูกค้าไหลมาเทมา ทำบุญกุศลคราใด อุทิศให้ท่าน และกตัญญูต่อบิดามารดา ท่านจะเป็นผู้ที่ได้รับความคุ้มครองจากเทพพระจันทร์ไปตลอดกาล ให้มีความสุข ความเจริญและประสบความสำเร็จ มีซึ่งของกิน ของใช้เครื่องอำนวยประโยชน์ไปตลอดชีวิต
พระคาถาบูชา
“ อิติปิโส ภะคะวา พระจันทร์จะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม ”
คาถาหัวใจพระจันทร์ สวด ๑๕ จบ
โอมสะสิจะมหาเทโว วิรัตตะ สักติทิรังทินนัง สวาหะ
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระจันทร์ ท่านจะได้รับการคุ้มครองรักษาจากเทพพระจันทร์ไปตลอดกาล ทำให้มีกินมีใช้ ไม่ขัดสนเลยตลอดชีวิตของท่าน
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า พระอาทิตย์
เทพนพเคราะห์ทั้งเก้า
พระอาทิตย์
เทวดาพระอาทิตย์ทรงราชสีห์ -
"เทพเจ้าแห่งเดช อำนาจ บารมี เกียรติยศ ศักดิ์ศรี ความมั่นคง ความมั่งคั่ง"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันอาทิตย์
“ บุคคลใดได้บูชาเทพพระอาทิตย์ จะทำให้ชีวิตมีหลักและมีความรุ่งโรจน์
ดุจพระบารมีและแสงพระอาทิตย์อย่างแน่นอน ”
หลักเทวกำเนิด เทพพระอาทิตย์ “เทพเจ้าแห่งความร้อนแรง เกียรติยศ ศักดิ์ศรี”
เกิดจากราชสีห์ 6 ตน ธาตุประจำตัวคือ ธาตุไฟ สีประตัว คือ สีแดง
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวไว้ชัดเจนว่า “ยศศักดิ์ อัครฐาน ให้ทายอาทิตย์” ท่านที่มีเทพพระอาทิตย์รักษาตัว จึงเป็นคนที่มีตบะ บารมี มีความหยิ่ง ทรนงตน รักเกียรติ์ รักศักดิ์ศรี รักอิสระ เชื่อมั่นในตัวเองสูง มีความทะเยอทะยาน และมุ่งมั่นใฝ่หาความรู้ ความเจริญก้าวหน้าและชื่อเสียง มีความคิดสร้างสรรค์ มีความเด็ดขาด รู้จักวางตน จึงเหมาะที่จะทำงานข้าราชการ ทำงานต่างพระเนตร พระกัณฐ์แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทำงานรัฐวิสาหกิจ , ทำงานที่เกี่ยวกับบริษัทข้ามชาติ และธุรกิจที่เกี่ยวกับเพชรพลอยจะไปได้ดี
พุทธคุณ เทวคุณ ในการบูชาเทพพระอาทิตย์
ตามหลักโหราศาสตร์ พระอาทิตย์ถือเป็นดาวพระเคราะห์ที่สำคัญ เรียกว่า องค์สุริยเทพบุตร เป็นเทพผู้คุ้มครองรักษาพระไภษัชยคุรุไวทูรยประภาตถาคตเบื้องขวา มีกำลัง เดชเดชะ บารมี คุ้มครองให้ผู้ที่ได้บูชาเทพพระอาทิตย์ ตลอดจนบุคคลที่ได้ระลึกนึกถึงท่าน และกตัญญูต่อบิดา ทำบุญกุศลคราใด อุทิศให้เทพพระอาทิตย์ ท่านจะเป็นผู้ที่ได้รับความคุ้มครองจากเทพพระอาทิตย์ไปตลอดกาล จะทำให้ชีวิตมีหลักและมีความรุ่งโรจน์ ดุจพระบารมีและแสงพระอาทิตย์อย่างแน่นอน
พระคาถาบูชา พระอาทิตย์ สวด ๖ จบ
"อิติปิโส ภะคะวา พระอาทิตย์จะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม"
คาถาหัวใจพระอาทิตย์
โอมระวิจะมหาเทโว วิรัตตะโถรัง ระวิสิทธิ สวาหะ
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระอาทิตย์ และระลึกนึกถึง โดยมีภาพ เหรียญ หรือสิ่งที่ทำให้ระลึกนึกถึงเทพพระอาทิตย์นี้ จะทำให้ท่านประสบความสุขสวัสดี และความเจริญรุ่งเรืองตลอดกาล
ที่มา : http://www.sookjai.com/index.php?topic=34392.5;wap2
พระอาทิตย์
เทวดาพระอาทิตย์ทรงราชสีห์ -
"เทพเจ้าแห่งเดช อำนาจ บารมี เกียรติยศ ศักดิ์ศรี ความมั่นคง ความมั่งคั่ง"
เทพประจำตัวสำหรับท่านที่เกิดวันอาทิตย์
“ บุคคลใดได้บูชาเทพพระอาทิตย์ จะทำให้ชีวิตมีหลักและมีความรุ่งโรจน์
ดุจพระบารมีและแสงพระอาทิตย์อย่างแน่นอน ”
หลักเทวกำเนิด เทพพระอาทิตย์ “เทพเจ้าแห่งความร้อนแรง เกียรติยศ ศักดิ์ศรี”
เกิดจากราชสีห์ 6 ตน ธาตุประจำตัวคือ ธาตุไฟ สีประตัว คือ สีแดง
ตามปรัชญาทางโหราศาสตร์ กล่าวไว้ชัดเจนว่า “ยศศักดิ์ อัครฐาน ให้ทายอาทิตย์” ท่านที่มีเทพพระอาทิตย์รักษาตัว จึงเป็นคนที่มีตบะ บารมี มีความหยิ่ง ทรนงตน รักเกียรติ์ รักศักดิ์ศรี รักอิสระ เชื่อมั่นในตัวเองสูง มีความทะเยอทะยาน และมุ่งมั่นใฝ่หาความรู้ ความเจริญก้าวหน้าและชื่อเสียง มีความคิดสร้างสรรค์ มีความเด็ดขาด รู้จักวางตน จึงเหมาะที่จะทำงานข้าราชการ ทำงานต่างพระเนตร พระกัณฐ์แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทำงานรัฐวิสาหกิจ , ทำงานที่เกี่ยวกับบริษัทข้ามชาติ และธุรกิจที่เกี่ยวกับเพชรพลอยจะไปได้ดี
พุทธคุณ เทวคุณ ในการบูชาเทพพระอาทิตย์
ตามหลักโหราศาสตร์ พระอาทิตย์ถือเป็นดาวพระเคราะห์ที่สำคัญ เรียกว่า องค์สุริยเทพบุตร เป็นเทพผู้คุ้มครองรักษาพระไภษัชยคุรุไวทูรยประภาตถาคตเบื้องขวา มีกำลัง เดชเดชะ บารมี คุ้มครองให้ผู้ที่ได้บูชาเทพพระอาทิตย์ ตลอดจนบุคคลที่ได้ระลึกนึกถึงท่าน และกตัญญูต่อบิดา ทำบุญกุศลคราใด อุทิศให้เทพพระอาทิตย์ ท่านจะเป็นผู้ที่ได้รับความคุ้มครองจากเทพพระอาทิตย์ไปตลอดกาล จะทำให้ชีวิตมีหลักและมีความรุ่งโรจน์ ดุจพระบารมีและแสงพระอาทิตย์อย่างแน่นอน
พระคาถาบูชา พระอาทิตย์ สวด ๖ จบ
"อิติปิโส ภะคะวา พระอาทิตย์จะมัสมิง จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย สัพพะลาภัง ภะวันตุเม"
คาถาหัวใจพระอาทิตย์
โอมระวิจะมหาเทโว วิรัตตะโถรัง ระวิสิทธิ สวาหะ
ก่อนนอนสวดมนต์ไหว้พระแล้ว สวดพระคาถานี้ แล้วอุทิศบุญ อุทิศกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน แด่เทพพระอาทิตย์ และระลึกนึกถึง โดยมีภาพ เหรียญ หรือสิ่งที่ทำให้ระลึกนึกถึงเทพพระอาทิตย์นี้ จะทำให้ท่านประสบความสุขสวัสดี และความเจริญรุ่งเรืองตลอดกาล
ที่มา : http://www.sookjai.com/index.php?topic=34392.5;wap2
พระคาถาบูชาดวงประจำวันทั้ง 7 วัน
วันจันทร์ อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา ชื่อคาถากระทู้เจ็ดแบก ใช้ทางคงกระพัน สวดวันละ 15 จบ
วันอังคาร ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง ชื่อคาถาฝนแสนห่า ใช้ในทางเมตตามหานิยม สวดวันละ 8 จบ
วันพุธ ปิ สัม ระ โล ปุ สัต พุท ชื่อคาถาพระนารายณ์เกลื่อนสมุทร ใช้เสกปูนสูญฝี สวดวันละ 17 จบ
'วันเสาร์ โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ ชื่อคาถาพระนารายณ์ถอดจักร ใช้ในทางถอนคุณไสย สวดวันละ 10 จบ
วันพฤหัส ภะ สัม สัม วิ สะ เท ภะ ชื่อคาถาพระนารายณ์ขว้างจักรตรึงไตรภพ ใช้ทางมหานิยม สวดวันละ 19 จบ
วันพุธ (ราหู)' คะ พุท ปัน ทู ธัมวะ คะ ชื่อคาถาพระนารายณ์พลิกแผ่นดิน ใช้แก้ความผิดต่างๆ สวดวันละ 12 จบ
วันศุกร์ วา โธ โน อะ มะ มะ วา ชื่อคาถาพระพุทธเจ้าตวาดฟ้าป่าหิมพานต์ ใช้ทางมหานิยม สวดวันละ 21 จบ
วันอาทิตย์ อะ วิช สุ นุต สา นุส ติ ชื่อคาถาพระนารายณ์แปลงรูปใช้ทางเมตตามหานิยม สวดวันละ 6 จบ
คาถาอุทิศถวายส่วนกุศลเป็นพระราชกุศล
คาถาอุทิศถวายส่วนกุศลเป็นพระราชกุศล
ถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ผู้เสด็จสู่สวรรคาลัย
ยันทานิ เม กะตัง ปุญญัง
บุญใดที่ข้าพเจ้าได้ทำแล้ว ณ กาลบัดนี้
บุญใดที่ข้าพเจ้าได้ทำแล้ว ณ กาลบัดนี้
เตนาเนนุททิเสนะ จะ
เพราะบุญที่ข้าพเจ้าได้ทำ ณ กาลบัดนี้นั้นด้วย เพราะความอุทิศส่วนบุญอันนี้นั้นด้วย
เพราะบุญที่ข้าพเจ้าได้ทำ ณ กาลบัดนี้นั้นด้วย เพราะความอุทิศส่วนบุญอันนี้นั้นด้วย
ยา กาจิ กุสะลา มยาสา
ความปรารถนาอันใดอันหนึ่ง ที่เป็นกุศลของข้าพเจ้า
ความปรารถนาอันใดอันหนึ่ง ที่เป็นกุศลของข้าพเจ้า
สุเขนะ สิชฌะตัง สะทา
จงสำเร็จโดยง่ายทุกเมื่อ
จงสำเร็จโดยง่ายทุกเมื่อ
ปรมินทะมหาราชา
ขอพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช
ขอพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช
ภาคี โหตุ วะ ปัตติยา
จงทรงเป็นผู้มีส่วนแห่งปัตติทาน* ของข้าพเจ้าทั้งหลาย
จงทรงเป็นผู้มีส่วนแห่งปัตติทาน* ของข้าพเจ้าทั้งหลาย
เขมัปปะทัญจะ ปัปโปตุ
จงทรงถึงซึ่งบทอันเกษม คือ พระนิพพาน
จงทรงถึงซึ่งบทอันเกษม คือ พระนิพพาน
ตัสสาสา สิชฌะตัง สุภา
ขอความปรารถนาที่ดีงามของพระองค์ ทั้งปวงนั้น จงสำเร็จเถิด
ขอความปรารถนาที่ดีงามของพระองค์ ทั้งปวงนั้น จงสำเร็จเถิด
( ผู้แต่ง : สมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศวิหาร )
ขอขอบคุณที่มา : www.facebook.com/สวดมนต์พลิกชีวิต-1667438753569929
คาถาวิรูปักเข บทแผ่เมตตาให้แก่พญานาค ทั้ง ๔ ตระกูล
1.ตระกูลวิรูปักข์ ซึ่งเป็นนาคผิวกายสีทอง
2.ตะกูลเอราปัถ ซึ่งเป็นนาคผิวกายสีเขียว
3.ตระกูลฉัพยาปตต์ ซึ่งเป็นนาคผิวกายหลากสี
4.ตระกูลกัณหาโคตม์ ซึ่งมีผิวกายสีดำ
วิรูปักเข นี่แผ่เมตตาตั้งแต่สัตว์ไม่มีเท้า สัตว์มีเท้าน้อย จนกระทั่งสัตว์มีเท้ามาก
เรียกว่าแผ่เมตตาไปในสัตว์ทั้งหมด
วิรูปักเขหิเมเมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิเม ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิจะ อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิเม จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิเม มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มามังหิงสิ ทิปาทะโก มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มามังหิงสิ พะหุปปะโท สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพภูตาจะเกวะลา สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ มากิญจิ ปาปะมาคะมา อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธรรมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะ วันตานิ สิริงสะปานิ อะหิวิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิโสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานังติฯ
คำแปล ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย ตระกูลวิรูปักข์ด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย ตระกูลเอราบถด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย ตระกูลฉัพยาบุตรด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย ตระกูลกัณหาโคตมกะด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลายที่มี ๔ เท้าด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ที่มีเท้ามากด้วย สัตว์ไม่มีเท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๒ เท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๔ เท้า อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์มากเท้าอย่าเบียดเบียนเรา ขอสรรพสัตว์มีชีวิตทั้งหลายที่เกิดมาทั้งหมดจนสิ้นเชิงด้วย จงเห็นซึ่งความเจริญทั้งหลายทั้งปวงเถิด โทษลามกใด ๆอย่าได้มาถึงแล้วแก่สัตว์เหล่านั้น พระพุทธเจ้า ทรงพระคุณไม่มีประมาณ พระธรรม ทรงพระคุณไม่มีประมาณ พระสงฆ์ ทรงพระคุณไม่มีประมาณ สัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย คือ งู แมลงป่อง ตะขาบ แมลงมุม ตุ๊กแก หนู เหล่านี้ล้วนมีประมาณ ความรักษา อันเรากระทำแล้ว ความป้องกัน อันเรากระทำแล้ว หมู่สัตว์ทั้งหลาย จงหลีกไปเสีย เรานั้นกระทำการนอบน้อมแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่
2.ตะกูลเอราปัถ ซึ่งเป็นนาคผิวกายสีเขียว
3.ตระกูลฉัพยาปตต์ ซึ่งเป็นนาคผิวกายหลากสี
4.ตระกูลกัณหาโคตม์ ซึ่งมีผิวกายสีดำ
วิรูปักเข นี่แผ่เมตตาตั้งแต่สัตว์ไม่มีเท้า สัตว์มีเท้าน้อย จนกระทั่งสัตว์มีเท้ามาก
เรียกว่าแผ่เมตตาไปในสัตว์ทั้งหมด
วิรูปักเขหิเมเมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิเม ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิจะ อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิเม จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิเม มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มามังหิงสิ ทิปาทะโก มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มามังหิงสิ พะหุปปะโท สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพภูตาจะเกวะลา สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ มากิญจิ ปาปะมาคะมา อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธรรมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะ วันตานิ สิริงสะปานิ อะหิวิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิโสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานังติฯ
คำแปล ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย ตระกูลวิรูปักข์ด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย ตระกูลเอราบถด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย ตระกูลฉัพยาบุตรด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย ตระกูลกัณหาโคตมกะด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลายที่มี ๔ เท้าด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ที่มีเท้ามากด้วย สัตว์ไม่มีเท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๒ เท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๔ เท้า อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์มากเท้าอย่าเบียดเบียนเรา ขอสรรพสัตว์มีชีวิตทั้งหลายที่เกิดมาทั้งหมดจนสิ้นเชิงด้วย จงเห็นซึ่งความเจริญทั้งหลายทั้งปวงเถิด โทษลามกใด ๆอย่าได้มาถึงแล้วแก่สัตว์เหล่านั้น พระพุทธเจ้า ทรงพระคุณไม่มีประมาณ พระธรรม ทรงพระคุณไม่มีประมาณ พระสงฆ์ ทรงพระคุณไม่มีประมาณ สัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย คือ งู แมลงป่อง ตะขาบ แมลงมุม ตุ๊กแก หนู เหล่านี้ล้วนมีประมาณ ความรักษา อันเรากระทำแล้ว ความป้องกัน อันเรากระทำแล้ว หมู่สัตว์ทั้งหลาย จงหลีกไปเสีย เรานั้นกระทำการนอบน้อมแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่
จัดทำขึ้นโดย สารธรรมนำใจ หวังว่าผู้ที่ติดตามคงมีความสุขในการฟังธรรม
เรื่อง คาถาวิรูปักเข บทแผ่เมตตาให้แก่พญานาค ทั้ง ๔ ตระกูล ๑ ชั่วโมงเต็ม
(ขอบารมีโชคลาภสัการะ )
วันออกพรรษา ตักบาตรเทโว ทอดกฐิน และเทศน์มหาชาติ
วันออกพรรษา นี้ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า " วันมหาปวารณา" คำว่า "ปวารณา" แปลว่า "อนุญาต" หรือ "ยอมให้" คือ เป็นวันที่เปิดโอกาสให้พระภิกษุสงฆ์ด้วยกันว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ในข้อที่ผิดพลั้งล่วงเกินระหว่างที่จำพรรษาอยู่ด้วยกันในวันออกพรรษา กิจกรรมที่พุทธศาสนิกชน มักจะกระทำก็คือ
การบำเพ็ญกุศล เช่น ทำบุญตักบาตร จัดดอกไม้ ธูป เทียน ไปบูชาพระที่วัด และฟังพระธรรมเทศนาส่วน ของที่ชาวพุทธนิยมนำไปใส่บาตรในวันนี้ก็คือ ข้าวต้ม มัดไต้ และข้าวต้มลูกโยน และการร่วมกุศลกรรมการ "ตักบาตรเทโว"
ซึ่ง "ตักบาตรเทโว" หรือชื่อเต็มตามคำพระว่า "เทโวโรหณะ" แปลว่า การหยั่งลงจากเทวโลก
โดยสามารถเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ตักบาตรดาวดึงส์" โดยอาหารที่นิยมนำไปใส่บาตรคือ
ข้าวต้มมัด และข้าวต้มลูกโยนสมัยพุทธกาล เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้ธรรม
และเสด็จขึ้นไปโปรดพระพุทธมารดาโดยจำพรรษาอยู่ ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็นเวลา 1 พรรษา
และเมื่อออกพรรษาแล้วพระองค์ได้เสด็จกลับยังโลกมนุษย์ ณ สังกัสสะนคร การที่พระพุทธองค์เสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เรียกตามศัพท์ภาษาบาลีว่า "เทโวโรหณะ" ในครั้งนั้นบรรดาพุทธศาสนิกชนผู้มีความศรัทธาเลื่อมใส เมื่อทราบข่าวต่างพร้อมใจกันไปรอตักบาตรเพื่อรับเสด็จกันอย่างเนืองแน่น
จนถือเป็นประเพณีตักบาตรเทโวที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาจนตราบเท่าทุกวันนี้พิธีตักบาตรเทโวโรหณะในปัจจุบัน จะเริ่มตั้งแต่ตอนรุ่งอรุณหลังวันออกพรรษา พระภิกษุสามเณรลงทำวัตรในพระอุโบสถ พอพระอาทิตย์ขึ้นก็สมมติว่า พระลงมาจากบันไดสวรรค์หลังจากวันออกพรรษาแล้ว
มีประเพณีที่ พุทธศาสนิกชน นิยมทำกันคือ การทอดกฐินการทอดกฐิน เป็นประเพณีที่สำคัญของพุทธศาสนิกชนอย่างหนึ่ง นิยมทำกันตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ผู้มีจิตศรัทธาเลื่อมใส ใคร่จะทอดกฐิน ก็ให้ทอดได้ในระหว่างระยะเวลานี้ จะทอดก่อนหรือทอดหลังกำหนดนี้ ก็ไม่เป็นการทอดกฐินซึ่ง การทอดกฐิน คือ การนำผ้ากฐินไปวางไว้ต่อหน้าพระสงฆ์อย่างต่ำห้ารูป แล้วให้พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งที่ได้รับมอบหมาย จากคณะสงฆ์ทั้งนั้นเป็นเอกฉันท์ให้เป็นผู้รับกฐินนั้นส่วน งานเทศน์มหาชาติ ก็เป็นประเพณีที่นิยมเช่นกัน โดยจะมีการจัดขึ้น หลังวันออกพรรษา คือพ้นหน้ากฐินไปแล้ว ซึ่งประเพณีงานเทศน์มหาชาติ อาจทำในวันขึ้น 8 ค่ำ กลางเดือน 12 หรือในวันแรม 8 ค่ำ เพราะในช่วงนี้หมดหน้าน้ำ ข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ความจริงงานเทศน์มหาชาติ จะทำในเดือนไหนก็ได้ ไม่จำกัดฤดูกาล โดยในภาคอีสานนั้นนิยมทำกันในเดือน 4 เรียกว่า "งานบุญพระเวส" แต่โดยมากนิยมทำกันหลังวันออกพรรษา คือพ้นหน้ากฐินไปแล้ว"
ที่มา : nationtv.tv/
อุ อา กะ สะ
อุ อา กะ สะ
“อุฏฐานสัมปทา แปลว่า ขยันหา
อารักขสัมปทา แปลว่า รักษาทรัพย์
กัลยาณมิตตตา แปลว่า คบคนดี
สมชีวิตา รู้จักใช้เงินใช้ทองให้เหมาะสมกับฐานะตัวเอง ไม่ฟุ่มไม่เฟือย ให้รู้จักพอ”
อยากรวยเร็ว..ทำตาม หลวงปู่ไดโนเสาร์!!! แนะคาถาให้ไว้
ศีล 10 มีอะไรบ้าง
ศีล 10 มีอะไรบ้าง
โดยศีล 10 นั้นหัวข้อเหมือนศีล8 แต่แยกข้อ 7 ของศีล8 เป็น 2 ข้อ เลื่อนข้อ 8 เป็น 9 และเพิ่มเติมข้อ 10
ศีล 10 ประกอบด้วย สิกขาบท 10 ข้อ คือ :
1. เว้นจากฆ่าสัตว์
2. เว้นจากลักทรัพย์
3. เว้นจากประพฤติกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์
4. เว้นจากพูดเท็จ
5. เว้นจากการดื่มสุราเมรัย อันเป็นที่ตั้งของความประมาท
6. เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล
7. เว้นจากฟ้อนรำขับร้องประโคม การดูมหรสพ อันเป็นข้าศึกต่อกุศล
8. เว้นจากทัดทรงตกแต่งประดับประดาร่างกายด้วยดอกไม้ ของหอม เครื่องทา เครื่องประดับตกแต่ง
9. เว้นจากที่นั่งที่นอนอันสูงใหญ่
1๐. เว้นจากการรับทองและเงิน.
คำสมาทานศีล 10
ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
– ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการฆ่าสัตว์ด้วยตนเองและไม่ใช่ให้ผู้อื่นฆ่า
อทินนาทานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
– ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการลัก ,ฉ้อ ของผู้อื่นด้วยตนเอง และไม่ใช่ให้ผู้อื่นลัก ฉ้อ
อพฺรหฺมจริยา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
– ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากอสัทธรรม กรรมอันเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์
มุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
– ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการพูดเท็จ คำไม่เป็นจริง และคำล่อลวง อำพรางผู้อื่น
สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
– ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการดื่มสุรา เมรัย เครื่องดองของทำใจให้คลั่งไคล้ต่าง ๆ
วิกาลโภชนา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
– ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล
นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
– ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากพูด ฟัง ฟ้อนรำ ขับรอ้งและประโคมเครื่องดนตรีต่าง ๆ และดูการเล่นที่เป็นข้าศึกแก่กุศล
มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
– ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการทัดทรงตกแต่งร่างกายด้วยเครื่องประดับและดอกไม้ของหอม เครื่องทาเครื่องย้อม ผัดผิวให้งามต่าง ๆ
อุจฺจาสยนมหาสยนา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
– ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากนั่ง นอน เหนือเตียง ตั่ง มีเท้าสูงเกินประมาณ และที่นั่ง ที่นอนอันสูงใหญ่ ภายในใส่นุ่นและสำลี อาสนะอันวิจิตรไปด้วยลดลายงามด้วยเงินทองต่าง ๆ
ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
– ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการรับเงินทอง
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ (ว่า 3 ครั้ง)
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
(แบบ แทรกคำอธิษฐาน)
แบบสวดมนต์ จักรพรรดิเปิดโลก ที่หลวงตานำลูกศิษย์และเทพพรหมโอปาติกะ
ทั่ว 3 แดนโลกธาตุสวดตอน 20.30 น. ของทุกวัน
ตั้งสัจจะอฐิษฐาน
ลูกขอตั้งสัจจะอธิษฐานขอกราบขออาราธนาเมตตาบารมีรวมหลวงปู่ทวด หลวงปู่ดู่ท่านอันเป็นที่สุด ขอหลวงปู่ได้โปรดมีเมตตาอารธนาบารมีรวมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยตั้งแต่องค์ปฐมจนถึงองค์ปัจจุบันบรมมหาจักรพรรดิทุกๆพระองค์ บารมีรวมพระปัจเจกพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ พระธรรมและพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย โดยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและอนาคต บารมีรวมหลวงปู่ทวด หลวงปู่ดู่ ท่านอันเป็นที่สุดบารมีรวมหลวงตาม้าเป็นต้น
ขอบารมีหลวงปู่ได้โปรดเมตตาน้อมนำภพภูมิต่างๆทั้งหลายในทั่วทั้ง 3 แดนโลกธาตุอันประกอบไปด้วยเทพ 6 ชั้นพรหม 20 ชั้น เทพพรหมทุกชั้นฟ้ามหาสมุทรโดยทั่วทั้งแสนหมื่นโกฎิจักรวาล เทพพรหมเทวาที่เกี่ยวพันกับหลวงปู่ทวด หลวงปู่ดู่ หลวงตาม้าเทพพรหมเทวาที่เกี่ยวพันเกี่ยวข้องกับข้าพเจ้าโดยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและอนาคตท่านท้าวจตุมหาราชทั้ง 4 พระยายมราชพร้อมบริวารโดยทั้งหมด พระศรีสยามเทวาธิราชโดยทุก ๆ พระองค์วีรบุรษและวีรสตรีทั้งหลายที่คอยปกป้องรักษาแผ่นดินสยาม โอปาติกะทั้งหลาย ฤาษีและดาบสทั้งหลายศาลเจ้าพ่อหลักเมืองทุกๆจังหวัด พระเสื้อเมือง พระทรงเมืองพระราหูวราหก เจ้ากรุงพาลี แม่พระธรณี แม่พระคงคา พระเพลิง พระพาย พญาครุฑพร้อมบริวาร
พญานาคพร้อมบริวาร คนธรรพ์ ชาวเมืองลับแล และสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ที่ข้าพเจ้าได้เคยไปอธิษฐานไว้ ขอหลวงปู่ได้โปรดเมตตาน้อมนำท่านทั้งหลายมาร่วมสวดบทพระมหาจักรพรรดิพร้อมกันเพื่อเพิ่มกำลัง
บทบูชาพระ
พุทธัง ชีวิตตัง เม ปูเชมิ ธัมมัง ชีวิตตัง เม ปูเชมิ สังฆัง ชีวิตตัง เม ปูเชมิ
กราบพระ 6 ครั้ง(กราบด้วยจิต)
พุทธัง วันทามิ (กราบ) ธัมมัง วันทามิ (กราบ)
สังฆัง วันทามิ (กราบ) ครูอุปัชฌาอาจาริยคุณัง วันทามิ (กราบ)
มาตาปิตุคุณัง วันทามิ (กราบ) พระไตรสิกขาคุณัง วันทามิ (กราบ)
บทสมาทานศีล 5
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (กราบ 3 ครั้ง)
พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ
สังฆัง สรณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ตติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ
ปาณาติปาตา เวรมณี สิกขาปะทังสมาธิยามิ
อทินนาทานา เวรมณี สิกขาปะทังสมาธิยามิ
อพรัมจริยา เวรมณี สิกขาปะทังสมาธิยามิ
มุสาวาทา เวรมณี สิกขาปะทังสมาธิยามิ
สุราเมรยะ มัชชปมาทัฎฐานา เวรมณี สิกขาปะทังสมาธิยามิ
** อิมานิ ปัญจสิกขา ปทานิ สมาธิยามิ ** (3 ครั้ง)
สีเลนะ สุคติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปทา สีเลนะ นิพพุตติง ยันติ ตัสมา สีลัง วิโส ธะเย
บทอาราธนาพระ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (กราบ 3 ครั้ง)
พุทธัง อาราธนานัง กะโรมิ ธัมมัง อาราธนานัง กะโรมิ สังฆัง อาราธนานัง กะโรมิ
คาถาหลวงปู่ทวด : น้อมระลึกถึงปู่ทวดแล้วว่าคาถาดังนี้
นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติ ภะคะวา (3 ครั้ง)
คาถาหลวงปู่ดู่ : น้อมระลึกถึงปู่ดู่แล้วว่าคาถาดังนี้
นะโม โพธิสัตโต พรหม ปัญโญ (3 ครั้ง)
บทขอขมาพระรัตนตรัย
โยโทโส โมหะจิตเต นะพุทธัสมิง ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสันตุ
โยโทโส โมหะจิตเต นะธัมมัสมิง ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสันตุ
โยโทโส โมหะจิตเต นะสังฆัสมิง ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสันตุ
บทสวดมหาจักรพรรดิ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (กราบ 3 ครั้ง)
(สวดตามกำลังของแต่ละวัน อาทิตย์ 6 จันทร์ 15 อังคาร 8 พุธ 17 พฤหัส 19 ศุกร์ 21 เสาร์ 10)
นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
อะหังวันทามิ สัพพะโส
พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ
ขอสิ่งที่ข้าพเจ้าอธิษฐาน จงศักดิ์สิทธิ์ สำเร็จเป็นจริงโดยฉับพลันทันใจทุกประการ
อิมัง สัจจะวานัง อธิษฐามิ พุทธัง อธิษฐามิ ธัมมัง อธิษฐามิ สังฆัง อธิษฐามิ
การอธิษฐานรวมผู้เกี่ยวข้อง
ข้าพเจ้าขออธิษฐาน ผู้ที่เกี่ยวข้องกับตัวข้าพเจ้า ตั้งแต่อดีตชาติจนถึงปัจจุบันชาติ ผู้ที่เกี่ยวพันกับหลวงปู่ดู่ ตั้งแต่อดีตชาติจนถึงปัจจุบันชาติ ผู้ที่เคยอธิษฐานจิตที่ถ้ำนะ รวมถึง ผู้มีพระคุณและเทวดาประจำตัวข้าพเจ้า เจ้ากรรมนายเวรผู้ที่เคยอธิษฐานช่วย ชาติ ศาสนา ราชบัลลังก์ หมู่คณะ สัตว์ และมนุษย์ ผู้ที่ปรารถนาโพธิญาณ ขอบารมีหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ จงจุดประกายทั่วทั้ง ๓ โลกธาตุ แผ่บุญส่งวิญญานทั่วทั้ง 3 แดนโลกธาตุ ให้เหล่าเทพพรหมโอปาติกะทั้งหลายจงรับ
ขอบารมีหลวงปู่ช่วยน้อมนำให้เขาเหล่านั้นเข้ามาร่วมกัน เพื่อช่วยกันอธิษฐานช่วยชาติ ศาสนา และราชบัลลังก์ รวมถึงหมู่คณะด้วยเทอญ
เชิญพระเข้าตัว แผ่บุญปรับภพภูมิส่งวิญญาน
สัพเพพุทธา สัพเพธัมมา สัพเพสังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญ จะยังพลัง
อรหันตานัญ จะ เตเชนะรักขัง พันธามิ สัพพะโส (5 จบ)
พุทธัง อธิษฐามิ ธัมมัง อธิษฐามิ สังฆัง อธิษฐามิ (ให้อธิฐานจิตแผ่)
ต่อจากนั้นอธิษฐานแผ่เรื่องส่วนตัวเพื่อประโยชน์ได้
ตั้งจิตอธิษฐานขอสติปัญญา และให้คิดทำสิ่งใดให้สำเร็จทุกประการทั้งทางโลกและทางธรรม
(อธิษฐานเฉพาะเรื่อง.....อธิษฐานเรื่องที่เราต้องการอธิษฐานเป็นพิเศษ)
ขอสิ่งที่ข้าพเจ้าอธิษฐาน จงศักดิ์สิทธิ์ สำเร็จเป็นจริง โดยฉับพลันทันใจทุกประการ
อิมัง สัจจะวานัง อธิษฐามิ พุทธัง อธิษฐามิ ธัมมัง อธิษฐามิ สังฆัง อธิษฐามิ
สัพเพพุทธา สัพเพธัมมา สัพเพสังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญ จะยังพลัง
อรหันตานัญ จะ เตเชนะรักขัง พันธามิ สัพพะโส (3 จบ)
พุทธัง อธิษฐามิ ธัมมัง อธิษฐามิ สังฆัง อธิษฐามิ (ให้อธิฐานจิต)
อธิษฐานรวมบารมี ๑๐
ข้าพเจ้าขอตั้งสัจอธิษฐานสิ่งที่ข้าพเจ้าอธิษฐาน ข้าพเจ้าอธิษฐานเพื่อชาติ ศาสนา ราชบัลลังก์หมู่คณะ สัตว์ และมนุษย์ทั้งหมดที่ยังเวียนว่ายตายเกิด สิ่งที่ข้าพเจ้าอธิษฐานนี้ ข้าพเจ้าขออาราธนาบารมีกำลังองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปฐมบรมมหาจักรพรรดิ์ถึงองค์ปัจจุบันบรมมหาจักรพรรดิ์ ขอบารมีรวมหลวงปู่ทวด หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ บุญบารมีใดที่ข้าพเจ้าเคยสั่งสมอบรมมา เคยปฏิบัติมาจากอดีตชาติจนถึงปัจจุบันชาติ ไม่ว่าจะเป็น ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา
ข้าพเจ้าขอรวมบุญบารมีนี้ น้อมถวายแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปฐมบรมมหาจักรพรรดิ์ จนถึงองค์ปัจจุบันบรมมหาจักรพรรดิ์ ถวายหลวงปู่ทวด หลวงปู่ดู่ ขอถวายเป็นพุทธบูชา มหาเตชวันโต ธัมมะบูชา มหาปัญโญ สังฆะบูชา มหาโภควะโห ถวายแด่พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ขออาราธนาบารมีหลวงปู่ดู่ โปรดน้อมนำบารมีทั้งหมดทั้งมวลนี้ มายังข้าพเจ้าเป็นเท่าทวีคูณ เพื่อข้าพเจ้าจะได้นำมาเป็นกำลังในการช่วยชาติ ศาสนา ราชบัลลังก์ หมู่คณะ สัตว์ และมนุษย์ทั้งมวลตั้งจิตแผ่บุญให้กับผู้มีพระคุณ เจ้ากรรมนายเวรทั้งที่บ้านและหมู่คณะ
เชิญพระเข้าตัว แผ่บุญปรับภพภูมิส่งวิญญานอธิษฐานจิต...
สัพเพพุทธา สัพเพธัมมา สัพเพสังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญ จะยังพลัง
อรหันตานัญ จะ เตเชนะรักขัง พันธามิ สัพพะโส (5 จบ)
พุทธัง อธิษฐามิ ธัมมัง อธิษฐามิ สังฆัง อธิษฐามิ (ให้อธิฐานจิตแผ่)
กราบพระ 3 ครั้ง...น้อมระลึกถึงพระ
------------
(นั่งสมาธิภาวนาต่อตามความพอใจ)
ที่มา : วัดถ้ำเมืองนะ
คาถามหาเมตตาใหญ่
บทสวดตำรับวัดสุทัศน์เทพวราราม
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ ฯ ( ๓ จบ )
เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฎฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฎิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะฯ
(๑) สุขัง สุปะติ
(๒) สุขัง ปฎิพุชฌะติ
(๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ
(๔) มะนุสสานัง ปิโย โหติ
(๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ
(๖) เทวะตา รักขันติ
(๗) นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วากะมะติ
(๘) ตุวะฎัง จิตตัง สะมาธิยะติ
(๙) มุขะ วัณโณ วิปปะสีทะติ
(๑๐) อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ
(๑๑) อุตตะริง อัปปะฎิวิชฌันโต พรหมะโลกูปะโค โหติฯ
เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฎิฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิ สังสา ปาฎิกังขาฯ
อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ
กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ กะตีหา กาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโต วิมุตติฯ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ ทะสะหา กาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ
(๑) สัพเพ สัตตา (สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง) อะเวรา (อย่ามีเวรแก่กันและกันเลย) อัพยาปัชฌา (อย่าผูกพยาบาทอาฆาตกัน อย่าเบียดเบียนกัน อย่าข่มเหงรังแกกัน) อะนีฆา (อย่ามีความทุกข์กายทุกข์ใจ) สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ (จงรักษาตนให้เป็นสุขเป็นสุขเถิด)
(๒) สัพเพ ปาณา (สัตว์มีลมปราณทั้งปวง) อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ ภูตา (ภูตผีทั้งปวง) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ปุคคะลา (บุคคลทั้งปวง) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา (สัตว์ในร่างกายเราทั้งปวง) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันุตุ
อิเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
(๑) สัพพา อิตถิโย (สัตว์เพศหญิงทั้งปวง) อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปุริสา (สัตว์เพศชายทั้งปวง) อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อะริยา (สัตว์เจริญทั้งปวง) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ อะนะริยา (สัตว์ไม่เจริญทั้งปวง) อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
(๕) สัพเพ เทวา (เทวดาทั้งปวง) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ มะนุสสา (สัตว์มีใจสูงทั้งปวง) อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
(๗) สัพเพ วินิปาติกา (สัตว์นรกทั้งปวง) อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ
อิเมหิ สัตตะหา กาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา (สัตว์ฯ ในทิศตะวันออก) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา (สัตว์ฯ ในทิศตะวันตก) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา (สัตว์ฯ ในทิศเหนือ) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา (สัตว์ฯ ในทิศใต้) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา (สัตว์ฯในทิศตะวันออกเฉียงใต้) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา (สัตว์ฯในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา (สัตว์ฯในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ สัตตา (สัตว์ฯในทิศตะวันตกเฉียงใต้) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา (สัตว์ฯในทิศเบื้องต่ำ) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา (สัตว์ฯในทิศเบื้องบน) อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันต
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา อะปีฬะนายะ อุปะฆาตังวัชเชตวา อะนุปะฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา อะสันตาเปนะ ปะริยาทานัง วัชเชตวา อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา
อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ มา ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะ หากาเรหิ สัพเพ สัตเต เมตตายะตีติ เมตตา ตัง ธัมมัง เจตะยะตีติ เจโต สัพพะพยาปาทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯ
เมตตา พรหมะวิหาระภาวะนา นิฏฐิตา.
ที่มาบทสวด : http://palungjit.org
อริยทรัพย์ 7
อริยทรัพย์ 7 ประกอบไปด้วย
1. ศรัทธา หมายถึง ความเชื่อ เชื่ออย่างมีเหตุผล
2. ศีล หมายถึง การรักษาวัตรปฏิบัตร ทั้งทางกาย วาจาและใจของตนให้เรียบร้อยและมีความสำรวม
3. หิริ หมายถึง ความละอายต่อบาปและกรรมชั่ว
4. โอตตัปปะ หมายถึง ความเกรงกลัวต่อบาปและกรรมชั่ว
5. พาหุสัจจะ หมายถึง ความเป็นผู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก ไฝ่รู้ ไฝ่ศึกษาจนมีความรู้มาก
6. จาคะ หมายถึง การบริจาค การให้ทาน ความเสียสละเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และช่วยเหลือผู้อื่น
7. ปัญญา หมายถึง ความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ลึกซึ้งในเหตุในผล เข้าใจความดีความชั่ว เข้าใจความถูกและผิด ไม่เอาใจเข้าหาอวิชชา
1. ศรัทธา หมายถึง ความเชื่อ เชื่ออย่างมีเหตุผล
2. ศีล หมายถึง การรักษาวัตรปฏิบัตร ทั้งทางกาย วาจาและใจของตนให้เรียบร้อยและมีความสำรวม
3. หิริ หมายถึง ความละอายต่อบาปและกรรมชั่ว
4. โอตตัปปะ หมายถึง ความเกรงกลัวต่อบาปและกรรมชั่ว
5. พาหุสัจจะ หมายถึง ความเป็นผู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก ไฝ่รู้ ไฝ่ศึกษาจนมีความรู้มาก
6. จาคะ หมายถึง การบริจาค การให้ทาน ความเสียสละเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และช่วยเหลือผู้อื่น
7. ปัญญา หมายถึง ความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ลึกซึ้งในเหตุในผล เข้าใจความดีความชั่ว เข้าใจความถูกและผิด ไม่เอาใจเข้าหาอวิชชา
จะเห็นว่าอริยทรัพย์ 7 ประการนี้ ไม่ใช่แก้ว แหวน เงินทอง หรือของมีค่าอื่นๆในทางโลก แต่เป็นของมีค่าในทางธรรม ทางจิตใจ ที่จะสามารถทำเราคนเรามีความสุขได้มากกว่าและยั่งยืนกว่าทรัพย์ในทางโลกทั้งปวง
บทชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา)
บทชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา)
อานิสงส์ของบทสวดมนต์ชัยมงคลคาถา หรือพาหุงมหากาฯ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชไม่เคยแพ้ทัพ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ไม่เคยแพ้ทัพ พระชัยหลังช้างของ ร.๑ นั้นมาจากบทพาหุงมหากาฯ ผู้ใดสวดมนต์ชัยมงคลคาถา หรือพาหุงมหากาฯ เป็นประจำทุก ๆ วันแล้ว มีแต่ชัยชนะทุกประการ เรียนหนังสือก็เกิดปัญญา มีแต่ความเก่งกล้าสามารถ ผู้ใดสวดทุกเช้าค่ำ คิดสิ่งใดที่ดีเป็นมงคล จะสมความปรารถนาทุกประการ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ ( ๓ จบ )
พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ พาหุงสะหัส สะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆ ระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ มาราติเร กะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะยะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกาวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฉฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ
สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัมหมะจาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
บทชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา) (แปล)
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง (สามครั้ง)
ข้าพเจ้าขอถือเอา พระพุทธเจ้าเป็นสะระณะ
ข้าพเจ้าขอถือเอา พระธรรมเจ้าเป็นสะระณะ
ข้าพเจ้าขอถือเอา พระสงฆเจ้าเป็นสะระณะ
แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอา พระพุทธเจ้าเป็นสะระณะ
แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอา พระธรรมเจ้าเป็นสะระณะ
แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอา พระสงฆเจ้าเป็นสะระณะ
แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอา พระพุทธเจ้าเป็นสะระณะ
แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอา พระธรรมเจ้าเป็นสะระณะ
แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอา พระสงฆเจ้าเป็นสะระณะ
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ทรงแจกจ่ายธรรม เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ดีโดยชอบด้วยพระองค์เอง ทรงถึงพร้อมด้วยวิชชา และ จรณะ (ความรู้และความประพฤติ) เสด็จไปดี (คือไปที่ใดก็ยังประโยชน์ให้ที่นั้น) ทรงรู้แจ้งโลก ทรงเป็นสารถีฝึกคนที่ควรฝึก หาผู้อื่นเปรียบมิได้ ทรงเป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ทรงเป็นผู้ตื่น ทรงเป็นผู้แจกจ่ายธรรม
พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว อันผู้ปฏิบัติเห็นชอบได้ด้วยตนเอง ไม่ประกอบด้วยกาลเวลา ควรเรียกมาดูได้ ควรนอบน้อมเข้าไปหา อันผู้รู้พึงรู้ได้ด้วยตนเอง
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเป็นผู้ปฏิบัติตรง พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความรู้ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเป็นผู้ปฏิบัติชอบ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคนั้น จัดเป็นบุรุษสี่คู่ เป็นบุคคลแปด เป็นผู้ควรบูชา เป็นผู้ควรรับทิกษิณา เป็นผู้ควรกราบไหว้ เป็นเนื้อนาบุญของโลก หาสิ่งอื่นเปรียบมิได้
สมเด็จพระผู้มีพระภาค ผู้เป็นจอมของนักปราชญ์ ทรงชนะพญามารพร้อมด้วยเสนา ซึ่งเนรมิตแขนได้ตั้งพัน มีมือถืออาวุธครบทั้งพันมือ ขี่ช้างคิรีเมขล์ ส่งเสียงสนั่นน่ากลัว ทรงชนะด้วยธรรมวิธีมีทานบารมี เป็นต้น และด้วยเดชะของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ข้าพเจ้า
สมเด็จพระผู้มีพระภาค พระจอมมุนีทรงชนะอาฬวกยักษ์ผู้โหดร้ายบ้าคลั่ง น่าสพึงกลัว ซึ่งต่อสู้กับพระองค์ ตลอดทั้งคืนรุนแรงยิ่งกว่าพญามาร จนละพยศร้ายได้สิ้น ด้วยขันติธรรมวิธีอันพระองค์ได้ฝึกไว้ดีแล้ว และด้วยเดชของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ข้าพเจ้า
สมเด็จพระผู้มีพระภาค พระจอมมุนีทรงชนะพญาช้าง ชื่อ นาฬาคิรี ซึ่งกำลังตกมันจัด ทารุณโหดร้ายยิ่งนัก ดุจไฟป่าจักราวุธ
ที่มา : เว็บธรรมะ www.fungdham.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ป้ายกำกับ
- กัลยาณธรรม
- กัลยาณมิตรธรรม 7 คืออะไร มีอะไรบ้าง
- (การเจริญภาวนาธรรม ๖ อย่าง)
- กาลามสูตรกังขานิยฐาน 10
- กุศลกรรมบถ 10
- ขอเชิญร่วมบุญกินอิ่มนอนอุ่นปี7 เพื่อพี่น้องชาวเขา
- ขอเชิญร่วมบุญทอดกฐิน ปั่นฝ้ายสายบุญจุลกฐิน
- ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพ สะสมบุญใหญ่
- คาถาขอนิมิตรลาภ หลวงปู่หมุน ๑๐๘ จบ | หลวงปู่หมุน ฐิตสีโล นะโมฯ ๓ จบ
- คาถาเงินล้าน
- คาถาเงินล้าน ของ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ
- คาถาเงินล้าน หลวงพ่อฤาษีลิงดำวัดท่าซุง
- คาถาเจ้านายเมตตา
- คาถาถูกหวย (108จบ) | หลวงปู่สรวง
- คาถาท้าวเวสสุวรรณ
- คาถานะหน้าทอง
- คาถาบูชาพระแก้วมรกต หรือ คาถาบูชาพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร
- คาถาบูชาพระเจ้า ๕ พระองค์(คาถาบูชาหลวงพ่อโสธร)
- คาถาบูชาพระบัวเข็ม สวดภาวนาจะให้ผลในด้านโชคลาภและค้าขาย
- คาถาบูชาพระสีวลี
- คาถาบูชา เสด็จพ่อ รัชกาลที่ 5
- คาถาบูชาหลวงปู่หมุน ฐิตสีโล วัดบ้านจาน
- คาถาบูชา หลวงพ่อเดิมหลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ
- คาถาบูชา หลวงพ่อพัฒน์ แบบ ย่อ
- คาถาบูชาหลวงพ่อพัฒน์ ปุญญกาโม
- คาถาบูชาหลวงพ่อวัดเขาตะเครา
- คาถา พระพุทธเจ้าชนะมาร (หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต)
- คาถามหานิยม หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
- คาถามหานิยม หลวงพ่อเดิม
- คาถามหาเมตตาใหญ่
- คาถามหาลาภ
- คาถามหาเสนห์ หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
- คาถาเมตตามหานิยม
- คาถาเรียกเงิน เสริมทรัพย์ (หลวงพ่อปาน )