คาถาสวดบูชาเกิดวันพุธ กลางวัน (ปางอุ้มบาตร)

 


เกิดวันพุธ (กลางวัน )พระประจำวันเกิดคือ ปางอุ้มบาตร

คาถาสวดบูชา

(นะโม ๓ จบ)

สัพพาสีวะสะชาตีนัง ทิพพะมันตาทะคัง วิยะ ยันนาเสติ วิสังโฆรัง

เสสัญจาปิ ปะริสสะยัง อาณักเขตตัมหิ สัพพัตถะ สัพพะทา สัพพะปาณิณัง

สัพพะโสปิ นิวาเรติ ปะริตตันตัมภะณามะเส ฯ


บทสวดย่อวันพุธ กลางวัน ปิ สัม ระ โล ปุ สัต พุท

ชื่อคาถาพระนารายณ์เคลื่อนสมุทร ใช้เสกปูนสูญฝี สวดวันละ ๑๗ จบ


คาถาสวดบูชาเกิดวันอังคาร (ปางไสยาสน์)

 



คาถาสวดบูชา

(นะโม ๓ จบ)

ยัสสานุภาวะโต ยักขา เนวะ ทัสเสนติ ภิงสะนัง ยัมหิ เจวานุยุญชันโต
รัตตินทิวะมะตันทิโต สุขัง สุปะติ สุตโต จะ ปาปัง กิญจิ นะ ปัสสะติ
เอวะมาทิคุณูเปตัง ปะริตตันตัมภะณามะ เส ฯ

บทสวดย่อวันอังคาร ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง
ชื่อคาถาฝนแสนห่า ใช้ในทางเมตตามหานิยม สวดวันละ ๘ จบ


คาถาบูชาพระราหู

 


คาถาบูชาพระราหู

(นะโม ๓ จบ)

กินนุ สันตะระมาโน วะราหุ สุริยัง ปะมุญจะสิ 

สังวิคคะรูโป อาคัมมะ 

กินนุ ภีโต วะ ติฏฐะสีติ สัตตะธา เม ผะเล มุทธา 

ชีวันโต นะ สุขัง ละเภ พุทธะคาถา ภิคีโต มหิ โน เจ 

มุญเจยยะ สุริยันติ 

กินนุ สันตะระมาโน วะราหุจันทัง ปะมุญจะสิ 

สังวิคคะรูโป อาคัมมะ 

กินนุ ภีโต วะ ติฏฐะสีติ สัตตะธา เม ผะเล มุทธา 

ชีวันโต นะ สุขัง ละเภ พุทธะคาถา 


ภิคีโต มหิ โน เจ มุญเจยยะ จันทิมันติ.

คาถาพระสีวลีฉันข้าว



(นะโม ๓ จบ)

นะโมพุทธายะ สิทธัง นะชาลีติ ประสิทธิลาภา
ปะสันตะ จิตตา ศรัทธา โหนติ ปิยังมะมะ
สัพเพชะนา พะหูชะนา
สัพเพทิสา สะมาคะตา
กาละโภชนะ วิกาลโภชนา
อาคัจฉายะ อาคัจฉาหิ ปิยังมะมะ
สีวะลีจะมหาเถโร สัพพะลาโภ นิรันตะรัง
ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ.

(สวด ๓, ๕, ๗, ๙ จบ ถ้าได้ ๑๐๘ จบ จะพลิกดวงชะตาจากยากจนหรือตกตํ่า ให้กลายเป็นคนที่มั่งมี มั่งคั่ง ด้วยลาภ ยศ เงินทอง ข้าวของ และโภคทรัพย์จะเพิ่มพูนเนืองนอง มีกิน มีใช้ ไม่รู้หมด ไม่รู้สิ้น รวยไม่มีที่สิ้นสุด ท่องจนลูกศิษย์หมดหนี้ หมดสิน ธุรกิจรุ่งเรือง ศิษย์บางคนยังเรียกว่า
พระคาถาปลดหนี้ ด้วยซํ้า)

คาถาประสานใน ( คาถารักษาโรค )

 คาถาประสานใน  ( คาถารักษาโรค  )



พุทธัง สะระณัง มังสัง ธัมมัง สะระณัง นะหารู สังฆัง 

สะระ ณังอัฎฐิ เอหิยัตตะ เอหิเกโก ปัตโต ยัตถา 


พระคาถาประสานนี้ ให้หมั่นภาวนา เพื่อรักษาและช่วยประสานอวัยวะ ภายในแล . 

การไหว้พระในบ้าน

 การไหว้พระในบ้าน


เมื่อเราไหว้พระรัตนตรัยแล้ว ก่อนนอนทุกวัน พึงไหว้ พ่อ แม่ ผู้เป็นพระในบ้าน ซึ่งมีพระคุณอันยิ่งใหญ่แก่เรา โดยพนมมือขึ้น รำลึกถึงพระคุณของท่าน กล่าวคำไหว้ ดังนี้


“มัยหัง มาตาปิตูนังวะ ปาเทสุ วันทามิ สาทะรัง”

(กราบลง ๑ ครั้ง)


นึกถึงพ่อแม่ และนึกเห็นตัวเรา หมอบกราบแทบเท้าท่านทั้งสอง

พระคาถาบูชาพระพิฆเนศ

                 

                      พระคาถาบูชาพระพิฆเนศ 



โอม ศรี คเณศายะ นะมะหะ

ข้าแต่องค์พระพิฆเณศวร ผู้เป็นเทพเจ้าแห่งศิลปวิทยา 

เทพแห่งความสำเร็จ

ขอพระองค์จงอำนวยพรชัยให้ข้าพเจ้าและครอบครัว

มีความเจริญก้าวหน้าในปัญญา ประสบความสำเร็จก้าวหน้า

ในสัมมาชีพ การงาน การศึกษาทั้งหลายทั้งปวง

ขอพระองค์จงประทานพรชัย ให้ข้าพเจ้าและครอบครัว

เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ

ขอเทวานุภาพแห่งองค์พระพิฆเณศ อำนวยชัยให้พร

แด่กิจการงานต่าง ๆ ของข้าพเจ้า ประสบความเจริญก้าวหน้า

วัฒนาถาวร ยิ่ง ๆ ขึ้นไปด้วยเทอญ

โองการพินธุ นาถัง อุปปันนัง พรหมมะโน จะอินโธ

พิฆฆะเนศโต มหาเทโว อะหัง วันทามิ สัพพะทา

สิทธิกิจจัง สิทธิกัมมัง สิทธิการิยัง ประสิทธิ เม

โอม ศรีคะเนศายะนะมะ

ชะยะคะเณศะ ชะยะคะเณศะ ชายะคะเณศะ

เทวา มาตา ชากี ปะระ วะตี ปิตามะหา เทวา ละฑุวัน 

กา โกคะ ละเค สันตะ กะเร เสวา เอก ทันตะ ทะยาวันดะ 

จาระ ภุชา ธารี มาเถ สินทูระ เสเห มูเส กี

อะสะวารี อันธะนะ โก อางขะ เทตะโก กายา พราหมะนะ 

โก กุตตระ เทตะ โกทินะ นิระทะนะ มายาฯ

เหรียญพระพิฆเนศปางมหาเศรษฐี วัดทัคฑูเศฐ เมืองปูเน่ อินเดีย

เหรียญพระพิฆเนศปางมหาเศรษฐี

วัดทัคฑูเศฐ เมืองปูเน่ อินเดีย


หรียญพระพิฆเนศ ใหญ่ เนื้อเงินเเท้ 

บูชา 700 บาท


เหรียญเนื้อเงินเเท้ (ขนาด 2.5 เซนติเมตร) 

บูชา 500 บาท


เหรียญเนื้อเงินเเท้ เล็กๆ (ขนาด 2 เซนติเมตร) 

บูชา 250 บาท



สอบถามบูชา 061-9059799 , 064-5692699















บูชา พระพิฆเนศปางมหาเศรษฐี วัดทัคฑูเศฐ เมืองปูเน่ อินเดีย

 พระพิฆเนศ ปางมหาเศรษฐี ดั๊กดูเศรษฐ์

"ผู้ที่ได้มาสักการะ  จะประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน  มีโชคลาภ  และร่ำรวยกันอย่างน่าอัศจรรย์" 


ดั๊กดูเศรษฐ์(Dagadusheth)  เป็นพระนามขององค์พระพิฆเนศ  ที่ประดิษฐานอยุ่ที่เทวาลัยพระพิฆเนศวร ดั๊กดูเศรษฐ์ ฮาลไว คณาปิติ เมืองปูเน่ประเทศอินเดีย มีขนาดความสูงฟุต ได้รับความนิยมสูงสุดในเรื่องของการบูชาเพื่อความร่ำรวยและโชคลาภ มีผู้ศรัทธาจากทั่วโลกมากราบไหว้ แล้วเกิดความร่ำรวย ได้กลับมาบริจาคทรัพย์สินเงินทองให้กับทางเทวาลัยเป็นจำนวนมาก เทวาลัยจึงตกแต่งด้วยทองคำแท้ รวมทั้งตกแต่งเครื่องทรงขององค์พระพิฆเนศด้วยเครื่องประดับที่ทำจากทองคำ เพชรและพลอยแท้  จนได้รับขนานนามว่า พระพิฆเนศองค์ที่ร่ำรวยที่สุดในโลก


     ต่อมาก็ได้รับความนิยมอย่างมากจากผู้ศรัทธาทั้งในและต่างประเทศ  และได้รับคำร่ำลือว่า "ผู้ที่ได้มาสักการะ  จะประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน  มีโชคลาภ  และร่ำรวยกันอย่างน่าอัศจรรย์


บูชา พระพิฆเนศปางมหาเศรษฐี วัดทัคฑูเศฐ เมืองปูเน่ อินเดีย

1.องค์บูชาองค์ใหญ่ๆ ทองเหลือง(พราหมณ์วัดทำพิธีพิเศษ)
(หน้าตัก10นิ้ว สูง15นิ้ว)
บูชาองค์ละ 15,000 บาท
2.องค์บูชาเนื้อโลห (ขนาดหน้าตัก7นิ้ว สูง10นิ้ว)
บูชาองค์ละ 3500บาท
3.องค์บูชาตั้งหน้ารถ (หน้าตัก2นิ้ว สูง2นิ้ว)
บูชาองค์ละ500บาท



บูชา พระพิฆเนศปางมหาเศรษฐี วัดทัคฑูเศฐ เมืองปูเน่ อินเดีย



พระพิฆเนศปางมหาเศรษฐี วัดทัคฑูเศฐ เมืองปูเน่ อินเดีย



พระพิฆเนศปางมหาเศรษฐีเหรียญใหญ่
เหรียญใหญ่ เนื้อเงินเเท้
บูชาเหรียญละ 700 บาท
เหรียญเนื้อเงินเเท้ (ขนาด2.5เซนติเมตร)
บูชาเหรียญละ 500 บาท
เหรียญเนื้อเงินเเท้ เล็กๆ (ขนาด2เซนติเมตร)
บูชา 250  บาท

สอบถามบูชา 061-9059799



คาถาบูชาแม่นางกวัก

 คาถาบูชาแม่นางกวัก


นะโม ๓ จบแล้วกล่าวดังนี้

โอมปู่เจ้าเขาเขียวมีลูกสาวคนเดียว ชื่อว่าแม่นางกวัก หญิงเห็นหญิงรัก ชายเห็นชายรัก อยู่ทุกถ้วนหน้า

เอหิมามะมะ อาคัจเฉยยะ อาคัจฉาหิ เอหิมามะมะ

จะค้าขายก็ขอให้เป็นเศรษฐี หนึ่งปีให้เป็นพ่อค้าสำเภาทอง จะค้าเงินขอให้เงินเข้ามากอง จะค้าทองขอให้ไหลมาเทมาเต็มบ้านเต็มเรือน จะค้าขายสิ่งหนึ่งประการใด ขอให้ซื้อง่ายขายคล่อง ขอให้ซื้อง่ายขายดี ขอให้เป็นเศรษฐี มหาเศรษฐี


 อาคัจเฉยยะ อาคัจฉาหิ เอหิมามะมะ นะมะอะอุ นะชาลีติ อิกะวิติ พุทธะสังมิ ทุสะมะนิ อิธะคะมะ จะพะกะสะ นาสังสิโม สุมะโมโล นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ นะเมตตา โมขายดี พุทธไม่ต่อ ธาซื้อดี ยะใจดี มิใจอ่อน รักพุทโธ ปฏิรูปัง สัมปะฏิจฉามิ เพี้ยง สิทธิโภคา สิทธิพะลา สิทธิจะมหาเดชา นะชาลีติ เอหิจงมา พุทธะสังมิ นิมามะมามา


มาช่วยกันค้า มาช่วยกันขาย กวักเอาเงินมา กวักเอาทองมา กวักเอาโชคลาภ แก้วแหวนเงินทองข้าวของ หน้าที่การงาน ผู้คน ชื่อเสียงเกียรติยศ ข้าทาสหญิงชายมา


มาด้วยนะโมพุทธายะ ปฏิรูปัง สัมปะฏิจฉามิ เพี้ยง พุทธังขอให้เป็นเศรษฐี มหาเศรษฐี ธัมมังขอให้เป็นเศรษฐี มหาเศรษฐี สังฆังขอให้เป็นเศรษฐี มหาเศรษฐี เตชะสุเนมะภูจะนาวิเวอิติ นะเยปะรังยุตเต


ขอจงนำเอาโชคลาภ แก้วแหวนเงินทองข้าวของ มาสู่ในสถานที่นี้ด้วย เทอญ


พุทธังรักษา ธัมมังรักษา สังฆังรักษา

พุทธังคุ้ม ธัมมังคุ้ม สังฆังคุ้ม

เอหิพุทธานุภาเวนะ เอหิธัมมานุภาเวนะ เอหิสังฆานุภาเวนะ

อายุ วรรโณ สุขัง พลัง

คาถายันต์เกราะเพชร

 คาถายันต์เกราะเพชร




นะโม 3 จบ

นึกถึงคุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์

อิระชาคะตะระสา

ติหังจะโตโรถินัง

ปิสัมระโลปุสัตพุท

โสมาณะกะริถาโธ

ภะสัมสัมวิสาเทภะ

คะพุทปันทูทัมวะคะ

วาโธโนอะมะมะวา

อะวิชสุนุตสานุติ

คาถาบูชา พ่อหมอชีวกโกมารภัจจ์

 

คาถาบูชา พ่อหมอชีวกโกมารภัจจ์




นะโม ชีวะโก สิระสาอะหัง การุณิโก

วิสะตะทิพพะมันตัง ปะภาโส สุริยังจันทัง โกมาระภัทโต

ปะกาเสติปัทธิ โตอะเมหะ โสระ โรคา สุมะนาโหมิ

พระคาถาชินบัญชร สมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

 พระคาถาชินบัญชร

เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้นก่อนเจริญภาวนาชินบัญชรตั้งนะโม 3 จบก่อน 

แล้วระลึกถึงสมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)



ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง

อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตัง สุตตะวา

อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ

มรณังสุขัง อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ


ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวา มารัง

สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา


ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐาวีสะติ นายะกา

สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา


สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโล

จะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร


หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ

โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะวามะเก


ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ

ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโน อุภาสุง วามโสตะเก


เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร

นิสินโน สิริสัมปันโน โสภีโต มุนิ ปุงคะโว


กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก

โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร


ปุณโณ อังคุลิมาโลจะ อุปาลี นันทะสีวะลี

เถรา ปัญจะอิเมชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ


เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา

เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชินโนระสา

ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา


ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุต

ตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง


ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะ

กัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา


ชินา นานา วะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลัง

กาตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา


อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา

วะเสโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร


ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล

สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสา สะภา


อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ

ชิตูปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ

ชิตันตะวาโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิชินะปัญชะเรติ.

...............................................


พระคาถาชินบัญชร (แปล) แปลชินบัญชร


พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลายผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยามาราธิราช ผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์


มี 28 พระองค์ คือพระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกรเป็นอาทิพระพุทธเจ้าจอมมุนีทั้งหมดนั้น.


ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้าองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะพระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง 

พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณ อยู่ที่อก.


พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจ พระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย 

พระอัญญาโกณฑัญญะอยู่เบื้องหลัง


พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่หูซ้าย


มุนีผู้ประเสริฐ คือ พระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริ ดังพระอาทิตย์ส่องแสงอยู่ที่ทุกเส้นขน 

ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง


พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ


พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี พระเถระทั้ง 5 นี้ 

จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก


ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือ ผู้มีชัยและเป็นพระโอรสเป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วนรุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ๋


พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้า พระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย 

พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง


พระขันธปริตร พระโมรปริตรและพระอาฏานาฏิยสูตร

 เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ


อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลายนอกที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิดมีศีลาทิคุณอันมั่นคง คือสัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น


ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใด ๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น 

เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ


ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้นท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดี ฉะนี้แล


ข้าพระพุทธเจ้า ได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวะอันตรายใด ๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติและรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดร เทอญ

หลวงพ่อทันใจ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ขอพรสิ่งใดได้ผลทันใจ


หลวงพ่อทันใจ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ 

ขอพรสิ่งใดได้ผลทันใจ

หลวงพ่อทันใจ วัดศรีชุม อ.ดอกคำใตั พะเยา

นับเป็นหลวงพ่อทันใจที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดมากกว่า 500 ปี เป็นพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นด้วยทองสัมฤทธิ์ สกุลช่างหลวงเมืองพะเยา ศิลปเชียงแสน 

สิงห์ 1 ปางสมาธิขัดเพชรประทับบันแท่นบัวสองชั้นเป็นเอกลักษณ์ของสกุลช่างหลวงเมืองพะเยา ขนาดหน้าตัก 25 นิ้ว เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ขอพรสิ่งใดได้ผลทันใจ        

คำไหว้พระเจ้าทันใจ 

นะโม 3 จบ 

  มะโน นะมะ สะขัง โกธะมัง ใจจะคุ (3จบ)


หลวงพ่อทันใจ วัดศรีชุม อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา 



หลวงพ่อทันใจ วัดศรีชุม ดอกคำใต้ จ.พะเยา




 


Tag : วัดศรีชุม พะเยา , หลวงพ่อทันใจ , สิงห์ 1 ปางสมาธิขัดเพชรประทับบันแท่นบัวสองชั้น ,

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


บทสวด อาฏานาฏิยะปะริตตัง

 


บทขัด อาฏานาฏิยะปะริตตัง

อัปปะสันเนหิ นาถัสสะ สาสะเน สาธุสัมมะเต
อะมะนุสเสหิ จัณเฑหิ สะทา กิพพิสะการิภิ
ปะริสานัญจะตัสสันนะ- มะหิงสายะ จะ คุตติยา
ยันเทเสสิ มะหาวีโร ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ

บทสวด อาฏานาฏิยะปะริตตัง

วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต
สิขิสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุกัมปิโน
เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นะหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน
นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน
โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสีมะโต
กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ
อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สัก๎ยะปุตตัสสะ สิรีมะโต
โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
เย จาปิ นิพพุตา โลเก ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง
เต ชะนา อะปิสุณา มะหันตา วีตะสาระทา
หิตัง เทวะมะนสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง
วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง ฯ
( วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ )

นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปันนานัง มะเหสินัง
ตัณหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส
สะระณังกะโร โลกะหิโต ทีปังกะโร ชุตินธะโร
โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล ปุริสาสะโภ
สุมะโน สุมะโน ธีโร เรวะโต ระติวัฑฒะโน
โสภิโต คุณะสัมปันโน อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม
ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท วะระสาระถี
ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล
สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิยะทัสสี นะราสะโภ
อัตถะทัสสี การุณิโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท
สิทธัตโถ อะสะโม โลเก ติสโส จะ วะทะตัง วะโร
ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ วิปัสสี จะ อะนูปะโม
สิขี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู สุขะทายะโก
กะกุสันโธ สัตถะวาโห โกนาคะมะโน ระณัญชะโห
กัสสะโป สิริสัมปันโน โคตะโม สัก๎ยะปุงคะโว ฯ

เอเต จัญเญ จะ สัมพุทธา อะเนกะสะตะโกฏะโย
สัพเพ พุทธา อะสะมะสะมา สัพเพ พุทธา มะหิทธิกา
สัพเพ ทะสะพะลูเปตา เวสารัชเชหุปาคะตา
สัพเพ เต ปะฏิชานันติ อาสะภัณฐานะมุตตะมัง
สีหะนาทัง นะทันเต เต ปะริสาสุ วิสาระทา
พ๎รัห๎มะจักกัง ปะวัตเตนติ โลเก อัปปะฏิวัตติยัง
อุเปตา พุทธะธัมเมหิ อัฏฐาระสะหิ นายะกา
ท๎วัตติงสะลักขะณูเปตา - สีต๎ยานุพ๎ยัญชะนาธะรา
พ๎ยามัปปะภายะ สุปปะภา สัพเพ เต มุนิกุญชะรา
พุทธา สัพพัญญุโน เอเต สัพเพ ขีณาสะวา ชินา
มะหัปปะภา มะหะเตชา มะหาปัญญา มะหัพพะลา
มะหาการุณิกา ธีรา สัพเพสานัง สุขาวะหา
ทีปา นาถา ปะติฏฐา จะ ตาณา เลณา จะ ปาณินัง
คะตี พันธู มะหัสสาสา สะระณา จะ หิเตสิโน
สะเทวะกัสสะ โลกัสสะ สัพเพ เอเต ปะรายะนา
เตสาหัง สิระสา ปาเท วันทามิ ปุริสุตตะเม
วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต
สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทา
สะทา สุเขนะ รักขันตุ พุทธา สันติกะรา ตุวัง
เตหิ ต๎วัง รักขิโต สันโต มุตโต สัพพะภะเยนะ จะ
สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะสันตาปะวัชชิโต
สัพพะเวระมะติกกันโต นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ ฯ
เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ ขันติเมตตาพะเลนะ จะ
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ ฯ

ปุรัตถิมัส๎มิง ทิสาภาเค 
สันติ ภูตา มะหิทธิกา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
ทักขิณัส๎มิง ทิสาภาเค สันติ เทวา มะหิทธิกา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
ปัจฉิมัส๎มิง ทิสาภาเค สันติ นาคา มะหิทธิกา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
อุตตะรัส๎มิง ทิสาภาเค สันติ ยักขา มะหิทธิกา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
จัตตาโร เต มะหาราชา โลกะปาละ ยะสัสสิโน
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวา นาคา มะหิทธิกา
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ

ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ

สักกัต๎วา พุทธะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
หิตัง เทวะมะนุสสานัง พุทธะเตะเชนะ โสตถินา
นัสสันตุ ปัททะวา สัพเพ ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต
สักกัต๎วา ธัมมะระตะนัง โอสะถัง อุตตะนัง วะรัง
ปะริฬาหูปะสะมะนัง ธัมมะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุ ปัททะวา สัพเพ ภะยา วูปะสะเมนตุ เต
สักกัต๎วา สังฆะระตะตัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุ ปัททะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ เต ฯ

สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ
มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ
อะภิวาทะนะสีลิสสะนิจจังวุฑฒาปะจายิโน
จัตตาโรธัมมาวัฑฒันติอายุวัณโณสุขังพะลังฯ

บทสวด อาฏานาฏิยะปะริตตัง แปล

(หันทะ มะยัง อาฏานาฏิยะปะริตตัง ภะณามะ เส)

วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต
-ความนอบน้อมจงมี แด่พระวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า
ผู้ทรงมีปัญญาจักษุ ผู้ทรงไว้ซึ่งพระสิริ

สิขิสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุกัมปิโน
-ความนอบน้อมจงมี แด่พระสิขีสัมมาสัมพุทธเจ้า
ผู้ทรงมีพระทัยเอ็นดู ต่อสัตว์ทั้งปวง

เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นะหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน
-ความนอบน้อมจงมี แด่พระเวสสภูสัมมาสัมพุทธเจ้า
ผู้ทรงมีกิเลสอันชำระแล้ว ผู้ทรงมีตบะธรรม

นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน
-ความนอบน้อมจงมี แด่พระกกุสันธะสัมมาสัมพุทธเจ้า
ผู้ทรงย่ำยีเสียได้ ซึ่งมารและเหล่าเสนาทั้งหลาย

โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสีมะโต
-ความนอบน้อมจงมี แด่พระโกนาคมนะสัมมาสัมพุทธเจ้า
ผู้ลอยบาปเสียได้ ผู้ทรงอยู่จบพรหมจรรย์แล้ว

กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ
-ความนอบน้อมจงมี แด่พระกัสสปะสัมมาสัมพุทธเจ้า
ผู้ทรงพ้นแล้วจากกิเลสทั้งปวง

อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สัก๎ยะปุตตัสสะ สิรีมะโต
-ความนอบน้อมจงมี แด่พระอังคีรสะสัมมาสัมพุทธเจ้า
ผู้ทรงเป็นโอรสแห่งศากยราช ผู้ทรงไว้ซึ่งพระสิริ

โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
-ซึ่งได้ทรงแสดงธรรมนี้ไว้ อันเป็นเครื่องบรรเทาเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวง

เย จาปิ นิพพุตา โลเก ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง
-อนึ่ง แม้ชนเหล่าใดในโลก เห็นแจ้งธรรมตามความเป็นจริง ดับกิเลสได้แล้ว

เต ชะนา อะปิสุณา มะหันตา วีตะสาระทา
-ชนเหล่านั้น ไม่มีความส่อเสียด เป็นผู้ใหญ่โดยคุณธรรม
ปราศจากความครั่นคร้ามแล้ว

หิตัง เทวะมะนสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง
-พากันนอบน้อมอยู่ ซึ่งพระพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้ทรงเป็นโคตมโคตร
ผู้ทรงเกื้อกูล แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย

วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง ฯ
-ผู้ทรงถึงพร้อมแล้ว ด้วยวิชชาและจรณะ ผู้ทรงถึงความเป็นใหญ่
ปราศจากความครั่นคร้ามใดๆ แล้ว

( วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ )
(-ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอนัสการ พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น
ผู้เป็นโคตมโคตร ผู้ทรงถึงพร้อมแล้วด้วยวิชชาและจรณะ ดังนี้ )

นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปันนานัง มะเหสินัง
-ข้าพเจ้าขอนอบน้อม แด่พระพุทธเจ้าทั้งปวง
ผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ ซึ่งทรงบังเกิดขึ้นแล้ว

ตัณหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส
-คือพระตัณหังกร ผู้ทรงกล้าหาญ
พระเมธังกร ผู้ทรงมียศใหญ่

สะระณังกะโร โลกะหิโต ทีปังกะโร ชุตินธะโร
-พระสรณังกร ผู้ทรงเกื้อกูลแก่โลก
พระทีปังกร ผู้ทรงไว้ซึ่งปัญญา

โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล ปุริสาสะโภ
-พระโกญทัญญะ ผู้ทรงเป็นประมุขแห่งหมู่ชน
พระมังคะละ ผู้ทรงเป็นบุรุษประเสริฐ

สุมะโน สุมะโน ธีโร เรวะโต ระติวัฑฒะโน
-พระสุมนะ ผู้ทรงเป็นปราชญ์ มีพระหฤทัยงดงาม
พระเรวตะ ผู้ทรงเพิ่มพูนความยินดี

โสภิโต คุณะสัมปันโน อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม
-พระโสภิตะ ผู้ทรงสมบูรณ์ด้วยพระคุณ
พระอโนมะทัสสี ผู้ทรงอุดมในหมู่ชน

ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท วะระสาระถี
-พระปทุมะ ผู้ทรงทำโลกให้สว่าง
พระนารทะ ผู้ทรงเป็นสารถีผู้ประเสริฐ

ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล
-พระปทุมุตตระ ผู้ทรงเป็นที่พึ่งของหมู่สัตว์
พระสุเมธะ ผู้ทรงหาบุคคลเปรียบมิได้

สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิยะทัสสี นะราสะโภ
-พระสุชาตะ ผู้ทรงเลิศกว่าสัตว์โลกทั้งปวง
พระปิยะทัสสี ผู้ทรงเป็นนรชนประเสริฐ

อัตถะทัสสี การุณิโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท
-พระอัตถะทัสสี ผู้ทรงมีพระกรุณา
พระธรรมะทัสสี ผู้ทรงบรรเทาความมืดคืออวิชชา

สิทธัตโถ อะสะโม โลเก ติสโส จะ วะทะตัง วะโร
-พระสิทธัตถะ ผู้ทรงหาบุคคลเสมอมิได้ ในโลก
พระติสสะ ผู้ทรงประเสริฐกว่านักปราชญ์ทั้งหลาย

ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ วิปัสสี จะ อะนูปะโม
-พระปุสสะพุทธเจ้า ผู้ทรงประทานธรรมอันประเสริฐ
พระวิปัสสี ผู้ทรงหาที่เปรียบมิได้

สิขี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู สุขะทายะโก
-พระสิขี ผู้ทรงเป็นพระศาสดา เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย
พระเวสสภู ผู้ทรงประทานความสุข

กะกุสันโธ สัตถะวาโห โกนาคะมะโน ระณัญชะโห
-พระกกุสันธะ ผู้ทรงนำสัตว์ออกจากกันดาร คือ กิเลส
พระโกนาคมนะ ผู้ทรงกำจัดเสียซึ่งข้าศึก คือ กิเลส

กัสสะโป สิริสัมปันโน โคตะโม สัก๎ยะปุงคะโว ฯ
-พระกัสสปะ ผู้ทรงสมบูรณ์ด้วยพระสิริ
พระโคตมะ ผู้ทรงประเสริฐแห่งหมู่ศากยราชทั้งหลาย

เอเต จัญเญ จะ สัมพุทธา อะเนกะสะตะโกฏะโย
-พระพุทธเจ้าเหล่านี้ก็ดี เหล่าอื่นก็ดี
ซึ่งนับจำนวนได้หลายร้อยโกฏิ

สัพเพ พุทธา อะสะมะสะมา สัพเพ พุทธา มะหิทธิกา
-พระพุทธเจ้าเหล่านั้นทั้งหมด เป็นผู้ทรงเสมอกันกับพระพุทธเจ้า
ผู้ทรงหาใครเสมอมิได้ พระพุทเจ้าทุกๆ พระองค์ ทรงมีมหิทธิฤทธิ์

สัพเพ ทะสะพะลูเปตา เวสารัชเชหุปาคะตา
-ทุกๆ พระองค์ ทรงประกอบด้วยทศญาณ
ทรงประกอบด้วยเวสารัชชญาณ

สัพเพ เต ปะฏิชานันติ อาสะภัณฐานะมุตตะมัง
-ทุกๆ พระองค์ ทรงปฏิญญาพระองค์
ในฐานะผู้มีคุณธรรมอันสูงสุด

สีหะนาทัง นะทันเต เต ปะริสาสุ วิสาระทา
-ทรงเป็นผู้องอาจ บันลือกระแสธรรมดุจสีหนาท
ท่ามกลางพุทธบริษัท

พ๎รัห๎มะจักกัง ปะวัตเตนติ โลเก อัปปะฏิวัตติยัง
-ยังพรหมจักรให้เป็นไป ไม่มีใครคัดค้านได้ในโลก

อุเปตา พุทธะธัมเมหิ อัฏฐาระสะหิ นายะกา
-ทรงเป็นผู้นำหมู่ชน เพราะประกอบด้วยพุทธธรรม ๑๘ ประการ

ท๎วัตติงสะลักขะณูเปตา สีต๎ยานุพ๎ยัญชะนาธะรา
-ทรงประกอบด้วยมหาบุรุษลักษณะ ๓๒ ประการ
และอนุพยัญชนะ ๘๐ ประการ

พ๎ยามัปปะภายะ สุปปะภา สัพเพ เต มุนิกุญชะรา
-ทรงมีพระรัศมีอันงดงาม แผ่ออกจากพระวรกายโดยรอบข้างละวา
ทุกๆ พระองค์ ทรงเป็นพระมุนีผู้ประเสริฐ

พุทธา สัพพัญญุโน เอเต สัพเพ ขีณาสะวา ชินา
-ทุกๆ พระองค์ ทรงเป็นพระสัพพัญญู
เป็นพระชีณาสพ เป็นผู้ชำนะซึ่งพญามาร

มะหัปปะภา มะหะเตชา มะหาปัญญา มะหัพพะลา
-ทรงมีพระรัศมี และพระเดชมาก
ทรงมีพระปัญญา และพระกำลังมาก

มะหาการุณิกา ธีรา สัพเพสานัง สุขาวะหา
-ทรงมีพระมหากรุณา และทรงเป็นจอมปราชญ์
ทรงนำความสุขมาให้ แก่สัตว์ทั้งปวง

ทีปา นาถา ปะติฏฐา จะ ตาณา เลณา จะ ปาณินัง
-ทรงเป็นดุจเกาะ เป็นดุจที่พึ่ง และเป็นดุจที่พำนักอาศัย
ทรงเป็นดุจดที่ต้านทาน ซึ่งภัยทั้งปวง เป็นดุจที่หลีเร้นของสัตว์ทั้งหลาย

คะตี พันธู มะหัสสาสา สะระณา จะ หิเตสิโน
-ทรงเป็นที่ส่งใจถึง ทรงเป็นพวกพ้อง ทรงเป็นที่อุ่นใจอย่างยิ่ง
ทรงเป็นสรณะ และเป็นผู้ทรงแสวงสิ่งเอื้อเกื้อกูล

สะเทวะกัสสะ โลกัสสะ สัพเพ เอเต ปะรายะนา
-ทุกๆ พระองค์ ทรงเป็นที่มุ่งหวังแม้ในเบื้องหน้า
แก่ประชาชาวโลก พร้อมทั้งเทวดา

เตสาหัง สิระสา ปาเท วันทามิ ปุริสุตตะเม

-ข้าพระพุทธองค์ ขออภิวาทพระบาทยุคล
ของพระพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้น ด้วยเศียรเกล้า

วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต
-และขออภิวาท ซึ่งพระตถาคตเจ้าทั้งหลายเหล่านั้น
ผู้ทรงเป็นอุดมบุรุษ พร้อมทั้งวาจา และทางใจด้วย

สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทา
-ทั้งในที่นอน ในที่นั่ง ในที่ยืน แม้ในที่เดินด้วย ในกาลทุกเมื่อ

สะทา สุเขนะ รักขันตุ พุทธา สันติกะรา ตุวัง
-ขอพระพุทธเจ้า ผู้ทรงสร้างสันติ จงรักษาท่านให้มีความสุข
ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด

เตหิ ต๎วัง รักขิโต สันโต มุตโต สัพพะภะเยนะ จะ
-ท่านเป็นผู้ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ทรงรักษาแล้ว
จงเป็นผู้พ้นจากภัยทั้งปวง

สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะสันตาปะวัชชิโต
-พ้นจากโรคทั้งปวง หายจากความเดือดร้อนทั้งปวง

สัพพะเวระมะติกกันโต นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ ฯ
-ล่วงเสียซึ่งเวรทั้งปวง และดับทุกข์ทั้งปวงได้เถิด

เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ ขันติเมตตาพะเลนะ จะ
-ด้วยสัจจะ ด้วยศีล และด้วยกำลังแห่งขันติ
และเมตตาของพระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์

เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ ฯ
-ขอพระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลาย
ให้เป็นผู้มีความสุข ปราศจากโรคภัยเบียดเบียน

ปุรัตถิมัส๎มิง ทิสาภาเค สันติ ภูตา มะหิทธิกา
-เหล่าภูตทั้งหลาย ผู้มีฤทธิ์มาก ที่สถิตอยู่ในทิศบูรพา

เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
-แม้ภูตเหล่านั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลาย
ให้เป็นผู้มีความสุข ปราศจากโรคภัยเบียดเบียน

ทักขิณัส๎มิง ทิสาภาเค สันติ เทวา มะหิทธิกา

-เทวดาทั้งหลาย ผู้มีฤทธิ์มาก ที่สถิตอยู่ในทิศทักษิณ

เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ

-แม้เทวดาทั้งหลายเหล่านั้น จงตามรักาษาซึ่งท่านทั้งหลาย
ให้เป็นผู้มีความสุข ปราศจากโรคภัยเบียดเบียน

ปัจฉิมัส๎มิง ทิสาภาเค สันติ นาคา มะหิทธิกา
-พญานาคทั้งหลาย ผู้มีฤทธิ์มาก ที่สถิตอยู่ในทิศปัจจิม

เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
-แม้พญานาคเหล่านั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลาย
ให้เป็นผู้มีความสุข ปราศจากโรคภัยเบียดเบียน

อุตตะรัส๎มิง ทิสาภาเค สันติ ยักขา มะหิทธิกา
-ยักษ์ทั้งหลาย ผู้มีฤทธิ์มาก ที่สถิตอยู่ในทิศอุดร

เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
-แม้ยักษ์เหล่านั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลาย
ให้เป็นผู้มีความสุข ปราศจากโรคภัยเบียดเบียน

ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
-ท้าวธะตะรฐ อยู่ประจำทิศบูรพา
ท้าววิรุฬหก อยู่ประจำทิศทักษิณ

ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
-ท้าววิรูปักข์ อยู่ประจำทิศปัจจิม
ท้าวกุเวร อยู่ประจำทิศอุดร

จัตตาโร เต มะหาราชา โลกะปาละ ยะสัสสิโน
-ท้าวมหาราชทั้ง ๔ นั้น
เป็นผู้มียศ คุ้มครองรักษาโลกอยู่

เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
-แม้ท้าวมหาราชทั้ง ๔ นั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลาย
ให้เป็นผู้มีความสุข ปราศจากโรคภัยเบียดเบียน

อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวา นาคา มะหิทธิกา
-เทวดาผู้ประเสริฐทั้งหลาย ผู้มีฤทธิ์มาก
ที่สถิตอยู่ในอากาศก็ดี สถิตอยู่บนภาคพื้นก็ดี

เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ
-แม้เทวดาเหล่านั้น จงตามรักษาซึ่งท่านทั้งหลาย
ให้เป็นผู้มีความสุขปราศจากโรคภัยเบียดเบียน

...............................................
คัดลอกจาก หนังสือมนต์พิธีแปล
รวบรวมโดย พระครูอรุณธรรมรังษี (เอี่ยม สิริวัณโณ)
วัดอรุณราชวราราม(คณะ๓) เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ

 ที่มา อาฏานาฏิยะปะริตตัง หรือ อาฏานาฏิยปริตร

http://www.watpamahachai.net/


บทสวด สัมพุทเธ

 

บทสวด สัมพุทเธ

สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก

ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง

เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว

อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ


สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก

ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง

เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว

อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ


สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก

วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง

เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว

อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ


( ถ้าไม่สวด สัมพุทเธ จะสวด นะมะการะสิทธิคาถา แทนก็ได้ )



บทสวด สัมพุทเธ แปล


(หันทะ มะยัง สัมพุทเธทิคาถาโย ภะณามะ เส)


สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก

ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง

-ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย

จำนวน ๕ แสน ๔ หมื่น ๒ พัน ๒๘ พระองค์ด้วยเศียรเกล้า


เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

-ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระธรรมด้วย พระสงฆ์ด้วย

ของพระสัมพุทธเจ้าเหล่านั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ


นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว

-ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำความนอบน้อม

จงขจัดเสียซึ่งอุปัทวะทั้งหลาย


อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโตฯ

-แม้อันตรายทั้งหลาย เป็นอันมาก จะพินาศไปโดยไม่เหลือเถิด


สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก

ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง

-ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย

จำนวน ๑ ล้าน ๒ หมื่น ๕ พัน ๕๕ พระองค์ด้วยเศียรเกล้า


เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

-ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระธรรมด้วย พระสงฆ์ด้วย

ของพระสัมพุทธเจ้าเหล่านั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ


นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว

-ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำความนอบน้อม

จงขจัดเสียซึ่งอุปัทวะทั้งหลาย


อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโตฯ

-แม้อันตรายทั้งหลาย เป็นอันมาก จะพินาศไปโดยไม่เหลือเถิด


สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก

วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง

-ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย

จำนวน ๒ ล้าน ๔ หมื่น ๘ พัน ๑๐๘ พระองค์ ด้วยเศียรเกล้า


เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

-ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระธรรมด้วย พระสงฆ์ด้วย

ของพระสัมพุทธเจ้าเหล่านั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ


นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว

-ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำความนอบน้อม

จงขจัดเสียซึ่งอุปัทวะทั้งหลาย


อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโตฯ

-แม้อันตรายทั้งหลายเป็นอันมากจะพินาศไปโดยไม่เหลือเถิด


...............................................

คัดลอกจาก หนังสือมนต์พิธีแปล

รวบรวมโดย พระครูอรุณธรรมรังษี (เอี่ยม สิริวัณโณ)

วัดอรุณราชวราราม(คณะ๓) เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ

พระคาถาอาการวัตตาสูตร แบบสมบูรณ์









อาการวัตตาสูตร แบบสมบูรณ์

(พุทธคุณแบบพิศดารและพระคาถาอาการวัตตาสูตร)

พระอาการวัตตาสูตรนี้ มีคุณเกินพรรณนา เมื่อบุคคลใด
ได้สวดท่องสาธยายอย่างตั้งมั่นตั้งใจทุกๆวัน ก็จะมีอานุภาพ
มีมหาตบะเดชะตลอดทั้งยศอำนาจ ลาภเมตตามหานิยมทั่วทุกสารทิศ
บัลดาลให้เกิดโภคสมบัติ บริวารสมบัติประกอบด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ
ตลอดจนบัลดาลตนเองให้มีฤทธิ์มีโชค   มีสติปัญญา และสามารถที่จะป้องกันภัย
อันตรายทั้งหลายไม่ให้มาแผ้วพาล ผู้เจริญสาธยายได้ จะคิดอะไรก็สำเร็จ
สมความปรารถนา ด้วยอำนาจแห่งพระอาการวัตตาสูตรที่ตนได้สาธยายตลอดกาลนาน

อาการวัตตาสูตร
(เพื่อความสมบูรณ์ยิ่ง จึงสวดบทพระพุทธคุณโดยพิศดารคู่กัน)

เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห วิหะระติ
คิชฌะกูเฏ ปัพพะเต เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ สัพพะสัตตานัง
พุทธะคุโณ ธัมมะคุโณ สังฆะคุโณ อายัส๎มา อานันโท อะนุรุทโธ
สารีปุตโต โมคคัลลาโน มะหิทธิโก มะหานุภาเวนะ สัตตานัง เอตะทะโวจะฯ

พระพุทธคุณโดยพิศดาร
(บทสวดคู่ พระอาการวัตตาสูตร)

อิติปิ โส ภะคะวา กัมมัฏฐานัง สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน (บางแห่งว่า อะสุภะราปะ)
อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะโลกา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวีธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อาโปธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เตโชธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วาโยธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จักกะวาฬะธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา จาตุมหาราชิกา เทวา สัมมาวิชาจะระนะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติงสา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ยามา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระตี เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัมมาวิชชาจะระณะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา พ๎รัห๎มะปะริสัชชา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา พ๎รัห๎มะปะโรหิตา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา มะหาพ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ปะริตตาภา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อัปปะมาณาภา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อาภัสสะรา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ปะริตตะสุภา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อัปปะมาณาสุภา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สุภะกิณหะกา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะสัญญิสัตตา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา เวหัปผะลา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะวิหา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะตัปปา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สุทัสสา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สุทัสสี พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะกะนิฏฐะกา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ

อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะ พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญานัญจายะตะนะ พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะพ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญา ยะตะนะ พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติมัคโค สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติผะโล สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิมัคโค สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิผะโล สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิมัคโค สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิผะโล สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะมัคโค สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะโล สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา นิพพานัง ปะระมัง สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโนฯ

อิติปิ โส ภะคะวา นะโมเมสัพพะพุทธานัง สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา นะโมโพธิมุตตะนัง สัมมาวิชชาจะระณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ตัณหังกะโร นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา เมธังกะโร นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สะระนังกะโร นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ทีปังกะโร นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา โกญฑัญโญ นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา มังคะโล นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สุมะโน นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา เรวะโต นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา โสภิโต นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะโนมะ ทัสสี นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ปะทุโม นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา นาระโท นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ปะทุมุตตะโร นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สุเมโธ นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สุชาโต นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ปิยะทัสสี นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อัตถะทัสสี นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ธัมมะทัสสี นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สิทธัตโถ นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ติสโส นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโน ฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ปุสโส นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา วิปัสสี นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สิขี นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เวสสะภู นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา กะกุสันโธ นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา โกนาคะมะโน นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา กัสสะโป นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา โคตะโม นามะ ภะคะวา สะมาธิปัญญาคุณะสัมปันโนฯ

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติ
สัทโท อัพพุคคะโต อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมา
สัมพุทโธ วิชชาจะระนะสัมปันโน ฯ สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
โส อิมัง โลกัง สะเทวะวัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง
ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ โส
ภะคะวา จักขุภูโต ญาณะภูโต ธัมมะภูโต ตัสสะทา ตัสสะทา ปะวัตตา
อัสสะ ชะเนนตา อะมะตัสสะ ทาตา ธัมมะสามิ ธัมมะราชา ธังมัง เทเสสิ
อาทิกัล๎ยาณัง มัชเฌกัล๎ยาณัง ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง
เกวะละ ปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกาเสสิ สาธุ โข ปะนะ ตะถารูปา


ป้ายกำกับ