อินทรีย์ 5 คือ การตั้งมั่นด้วยจิตอันนำพา 5 ประการ เพื่อความเจริญในศีลธรรม และการงาน ประกอบด้วย 5 ประการ คือ
1. สัทธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเลื่อมใสต่อสิ่งที่ควรเลื่อมใส
2. วิริยินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเพียรพยายาม
3. สตินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการระลึกได้
4. สมาธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการกระทำจิตให้มีสมาธิ
5. ปัญญินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในปัญญาหรือการรู้แจ้ง
2. วิริยินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเพียรพยายาม
3. สตินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการระลึกได้
4. สมาธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการกระทำจิตให้มีสมาธิ
5. ปัญญินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในปัญญาหรือการรู้แจ้ง
อินทรีย์ 5 ในด้านต่างๆ– การเป็นใหญ่
– การนำพา
– การเป็นผู้นำ
– การเป็นผู้ปกครอง
– การตั้งมั่นหรือตั้งอยู่
– การครอบงำ
– การเป็นผู้นำ
– การเป็นผู้ปกครอง
– การตั้งมั่นหรือตั้งอยู่
– การครอบงำ
1. การเจริญในธรรม
– สัทธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเลื่อมใสต่อการเจริญธรรม
– วิริยินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเพียรพยายามต่อการเจริญธรรม
– สตินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการระลึกได้ต่อการเจริญธรรม
– สมาธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการกระทำจิตให้สงบต่อการเจริญธรรม
– ปัญญินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการใช้ปัญญาต่อสิ่งที่ควรรู้ต่างๆ
– สัทธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเลื่อมใสต่อการเจริญธรรม
– วิริยินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเพียรพยายามต่อการเจริญธรรม
– สตินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการระลึกได้ต่อการเจริญธรรม
– สมาธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการกระทำจิตให้สงบต่อการเจริญธรรม
– ปัญญินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการใช้ปัญญาต่อสิ่งที่ควรรู้ต่างๆ
2. อาชีพการงาน
– สัทธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเลื่อมใสต่อการงานของตน
– วิริยินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเพียรพยายามต่อการงานของตน
– สตินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการระลึกได้ต่อการงานของตน
– สมาธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการกระทำจิตให้สงบต่อการงานของตน
– ปัญญินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการใช้ปัญญาต่อการงานของตน
– สัทธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเลื่อมใสต่อการงานของตน
– วิริยินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในความเพียรพยายามต่อการงานของตน
– สตินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการระลึกได้ต่อการงานของตน
– สมาธินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการกระทำจิตให้สงบต่อการงานของตน
– ปัญญินทรีย์ คือ การตั้งมั่นในการใช้ปัญญาต่อการงานของตน
อินทรีย์ 5 ควรมีกำลังเท่ากันในทุกสถาน และกาลเวลา
– ผู้มีศรัทธามาก แต่มีความรู้น้อย ย่อมเชื่ออะไรง่าย หลงใหลได้ง่าย
– ผู้มีปัญญา มีความรู้มาก แต่มีศรัทธาน้อย มักทระนงตัว เชื่อฟังคนอื่นยากหรือมักใช้ปัญญาในทางที่ผิด
– ผู้มีสมาธิแน่วแน่ แต่มีความเพียรน้อย ย่อมท้อต่อความลำบาก ความร้อนหนาวได้ง่าย
– ผู้มีความเพียรมาก อดทนต่อความลำบากได้ดี แต่หากมีสมาธิน้อย มักทำงานผิดพลาดเสมอ
– ผู้มีศรัทธามาก แต่มีความรู้น้อย ย่อมเชื่ออะไรง่าย หลงใหลได้ง่าย
– ผู้มีปัญญา มีความรู้มาก แต่มีศรัทธาน้อย มักทระนงตัว เชื่อฟังคนอื่นยากหรือมักใช้ปัญญาในทางที่ผิด
– ผู้มีสมาธิแน่วแน่ แต่มีความเพียรน้อย ย่อมท้อต่อความลำบาก ความร้อนหนาวได้ง่าย
– ผู้มีความเพียรมาก อดทนต่อความลำบากได้ดี แต่หากมีสมาธิน้อย มักทำงานผิดพลาดเสมอ
หลักปฏิบัติในอินทรีย์ 5
1. สัทธินทรีย์ ในอินทรีย์ 5 ด้วยการนำจิตของตนให้ตั้งมั่นในศรัทธาหรือความเลื่อมใสในสิ่งที่ควรเชื่อ ควรกระทำ เช่น เชื่อว่าตนสามารถสอบเข้ามหาลัยได้หากตนขยันอ่านหนังสือมากขึ้น
2. วิริยินทรีย์ ในอินทรีย์ 5 ด้วยการนำจิตของตนให้ตั้งมั่นในความเพียร ความมานะอุตสาหะต่อสิ่งที่ตนกระทำเพื่อยังประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่ตนมากที่สุด เช่น มีความขยันเพียรพยามยามที่จะอ่านหนังสือสอบ
3. สตินทรีย์ ในอินทรีย์ 5 ด้วยการนำจิตของตนให้ตั้งมั่นในความระลึกได้ขณะกระทำสิ่งใด อันปราศจากความเลื่อนลอยหรือความลืมตัวอันจะช่วยนำพาตนไปสู่ความเจริญ เช่น มีสติหรือความระลึกได้ขณะขับรถยนต์
4. สมาธินทรีย์ ในอินทรีย์ 5 ด้วยการนำจิตของตนให้ตั้งมั่นอยู่ในความสงบ มีสมาธิ จิตเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสิ่งที่ตนดำเนินอยู่ เช่น มีสมาธิในการอ่านหนังสือ
5. ปัญญินทรีย์ ในอินทรีย์ 5 ด้วยการนำจิตของตนให้ตั้งมั่นอยู่กับปัญญา คือ รู้จักใช้ความรู้ในการคิด วิเคราะห์ต่อสิ่งที่ตนจะกระทำหรือขณะกระทำเพื่อให้รู้แจ้งต่อสิ่งนั้น เช่น รู้จักคิดวิเคราะห์แก้โจทย์วิชาคณิตศาสตร์
1. สัทธินทรีย์ ในอินทรีย์ 5 ด้วยการนำจิตของตนให้ตั้งมั่นในศรัทธาหรือความเลื่อมใสในสิ่งที่ควรเชื่อ ควรกระทำ เช่น เชื่อว่าตนสามารถสอบเข้ามหาลัยได้หากตนขยันอ่านหนังสือมากขึ้น
2. วิริยินทรีย์ ในอินทรีย์ 5 ด้วยการนำจิตของตนให้ตั้งมั่นในความเพียร ความมานะอุตสาหะต่อสิ่งที่ตนกระทำเพื่อยังประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่ตนมากที่สุด เช่น มีความขยันเพียรพยามยามที่จะอ่านหนังสือสอบ
3. สตินทรีย์ ในอินทรีย์ 5 ด้วยการนำจิตของตนให้ตั้งมั่นในความระลึกได้ขณะกระทำสิ่งใด อันปราศจากความเลื่อนลอยหรือความลืมตัวอันจะช่วยนำพาตนไปสู่ความเจริญ เช่น มีสติหรือความระลึกได้ขณะขับรถยนต์
4. สมาธินทรีย์ ในอินทรีย์ 5 ด้วยการนำจิตของตนให้ตั้งมั่นอยู่ในความสงบ มีสมาธิ จิตเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสิ่งที่ตนดำเนินอยู่ เช่น มีสมาธิในการอ่านหนังสือ
5. ปัญญินทรีย์ ในอินทรีย์ 5 ด้วยการนำจิตของตนให้ตั้งมั่นอยู่กับปัญญา คือ รู้จักใช้ความรู้ในการคิด วิเคราะห์ต่อสิ่งที่ตนจะกระทำหรือขณะกระทำเพื่อให้รู้แจ้งต่อสิ่งนั้น เช่น รู้จักคิดวิเคราะห์แก้โจทย์วิชาคณิตศาสตร์
อินทรีย์ 5 ประการนี้ ท่านผู้รู้กล่าวว่า เป็นบทธรรมอันเดียวกันกับ พละ 5 ประการ คือ มีหัวข้อธรรมเหมือนกัน และมีลักษณะแนวทางปฏิบัติเหมือนกัน
ขอขอบคุณที่มา : thaihealthlife.com